Page 19 - วิถีไทย
P. 19
ภาษาในวถิ ไี ทย 3-9
ค�ำบอกรสในภาษาไทยยังมีอีกมากท้ังหวาน เผ็ด แซ่บ ปร่า เค็ม ถ้อยค�ำเหล่าน้ีสะท้อนให้เห็น
ความจำ� เปน็ ในการใชค้ ำ� กลมุ่ นใ้ี นวถิ ชี วี ติ นอกจากคำ� เรยี กรสทเี่ ปน็ คำ� หลกั แลว้ ยงั พบยงั คำ� ขยายเพอ่ื แสดง
ความหมายเฉพาะเจาะจงยง่ิ ขนึ้ อกี เชน่ หวาน : หวานออ่ นๆ หวานปะแลม่ ๆ หวานมาก หวานเจยี๊ บ หรอื
เปร้ียว : เปรี้ยวมาก เปร้ียวจี๊ด เปร้ียวเข็ดฟัน ฯลฯ ความละเมียดละไมของภาษาสะท้อนความละเมียด
ละไม และความละเอียดในการแจกแจงลักษณะที่ต่างออกจากกัน อันเป็นมโนทัศน์ของผู้ใช้ภาษาสะท้อน
ผ่านถอ้ ยคำ� ทยี่ ง่ิ มคี �ำแสดงความหมายต่างกันกย็ งิ่ แสดงถึงความประณตี ในการใช้ภาษา
กิจกรรม 3.1.1
ภาษาในวถิ ไี ทยสอดรับกบั ลกั ษณะสงั คมอย่างไรใหอ้ ธิบายและยกตัวอยา่ งประกอบ
แนวตอบกิจกรรม 3.1.1
ภาษาในวิถีไทยสอดรับกับลักษณะสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย สังคมสมัยจารีตแบ่ง
สถานภาพบคุ คลเปน็ กลุ่มตา่ งๆ อาทิ กษัตริย์ เจ้าขุนมลู นาย ไพร่ ทาส กล่าวเฉพาะทาสกม็ ีคำ� เรียกหลาย
ประเภททั้งทาสสินไถ่ ทาสในเรือนเบ้ีย ทาสเชลย การใช้ถ้อยค�ำในการเรียกสถานภาพบุคคลสอดรับกับ
ลกั ษณะสงั คมไทย เม่ือจำ� เป็นกต็ อ้ งสรา้ งถอ้ ยค�ำข้นึ ใช้ เมอ่ื ไม่จำ� เปน็ ก็เลกิ ใช้
เร่ืองท่ี 3.1.2
ความสัมพันธ์ของภาษากับวิถีไทย
ภาษาเปน็ สว่ นหนงึ่ ของวถิ ชี วี ติ ความเปน็ อยู่ ภมู ปิ ญั ญา และสงั คม อกี ทงั้ ยงั เปน็ เครอ่ื งมอื สบื ทอด
วฒั นธรรมของกลุ่มคน ภาษาจงึ มคี วามสมั พันธ์ทส่ี ะทอ้ นวถิ ีไทยหลายดา้ น ดังน้ี
1. ภาษาสะท้อนความเช่ือ
วิถีแห่งความเป็นไทยเป็นผลสืบทอดจากคนรุ่นหน่ึงสู่คนรุ่นหนึ่ง ผ่านวัฒนธรรมด้านต่างๆ ท้ัง
ความเป็นอยู่ ประเพณี และความเช่ือ ภาษาเป็นวัฒนธรรมแขนงหน่ึงท่ีผ่านการสืบทอด ส่งผ่าน และ
เปลย่ี นแปลง อยา่ งไรกด็ แี มก้ ารเปลย่ี นแปลงจะมอี ยใู่ นทกุ ภาษา แตก่ ารศกึ ษาภาษากย็ งั สะทอ้ นใหเ้ หน็ ภาพ
วิถีไทยในมุมมองต่างๆ ดังตัวอย่างไตรภูมิพระร่วง ซ่ึงเป็นหลักฐานทางภาษาประเภทลายลักษณ์อักษร
ไดก้ ล่าวถึงความเช่ือเรอ่ื งบุญ-บาป ดังนี้