Page 24 - วิถีไทย
P. 24
3-14 วถิ ีไทย
โทษของผู้เป็นกบฏต่อแผ่นดิน หรือปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์ หรือเอาใจออกหากเข้า
กบั ฝา่ ยศตั รู หรอื กระทำ� การเปน็ ไสศ้ กึ ตอ้ งมโี ทษ 3 สถาน คอื 1) รบิ ราชบาตรแลว้ ใหป้ ระหารใหส้ น้ิ
ทง้ั โคตร 2) รบิ ราชบาตรแลว้ ใหป้ ระหารเจด็ ชว่ั โคตร และ 3) รบิ ราชบาตรแลว้ ใหป้ ระหารผกู้ ระทำ� ผดิ
ส่วนโคตรทเ่ี หลือน้นั อยา่ ให้เล้ียงไว้
ในพระไอยการกระบดศกึ ค�ำนเี้ ขียนวา่ “7 ช่วั โคตร” ในโทษสถานแรกนน้ั ทใี่ หป้ ระหารใหส้ ้นิ ทง้ั
โคตร คือ ตอ้ งประหารหมดทั้งสกลุ ไม่ว่าจะมกี ่ีช่ัวโคตรหรอื มกี ีช่ น้ั ก็ตาม ส่วนโทษสถานท่ี 2 นน้ั เป็นการ
ประหารเจด็ ชวั่ โคตร สำ� หรบั ญาตติ ามแนวนอนสะทอ้ นถงึ ความสมั พนั ธท์ างสายเลอื ดหรอื ไมก่ ไ็ ด้ โดยเฉพาะ
บคุ คลทีไ่ มม่ คี วามสมั พนั ธท์ างสายเลือดในวถิ ไี ทยก็น�ำคำ� ว่า ลุง ปา้ นา้ อา พี่ น้อง ใช้เรยี กบุคคลท่ีรู้จกั
และไมร่ จู้ กั อนั เปน็ โลกทศั นข์ องคนไทยทอ่ี ารอี ารอบ และเรยี กบคุ คลอนื่ ดว้ ยคำ� เรยี กญาติ ซง่ึ ถอื เปน็ ลกั ษณะ
เฉพาะของวิถีไทยและสังคมไทย
3. ภาษาสะท้อนสภาพความเป็นอยู่
ถอ้ ยคำ� ในภาษาถกู รงั สรรคข์ น้ึ ตามความจำ� เปน็ ของกลมุ่ บคุ คล เมอื่ คนในสงั คมตอ้ งใชถ้ อ้ ยคำ� แทน
ส่ิงใดส่ิงหน่งึ ก็คดิ คำ� ขนึ้ ภาษาในสังคมจงึ เปน็ ส่วนหนึง่ ท่ีสะทอ้ นความเปน็ อยู่ไดท้ างหน่ึง คำ� พ้ืนฐานทคี่ วร
กลา่ วถงึ คอื ขา้ วทปี่ ระสมกบั ค�ำอนื่ ไดจ้ ำ� นวนมาก เชน่ ขา้ วเหนยี ว ขา้ วกลอ้ ง ขา้ วตม้ ขา้ วจี่ ขา้ วยำ� ขา้ วเมา่
ฯลฯ คำ� วา่ ขา้ ว ทง้ั คำ� เดย่ี วและคำ� ประสมจำ� นวนมากสะทอ้ นความสำ� คญั และความสมั พนั ธก์ บั ความเปน็ อยู่
ในวถิ ีไทยมานบั แต่โบราณกาล
ถอ้ ยคำ� ในภาษายงั สะทอ้ นใหเ้ หน็ ความเปน็ อยทู่ มี่ กี ารเคลอื่ นอยตู่ ลอดตามสภาพสงั คมทวี่ วิ ฒั นไ์ ม่
อยู่น่ิง เม่ือสังคมเปล่ียนแปลง ถ้อยค�ำหรือภาษาก็มีการเปลี่ยนตาม อย่างไรก็ดีไม่ว่าการเปลี่ยนแปลงจะ
เปน็ ไปทางใด ภาษาก็ยงั สะทอ้ นความเป็นอยใู่ นวถิ ไี ทย ถอ้ ยค�ำกลุ่มหนง่ึ ทีส่ ะทอ้ นความเป็นอยู่ไดช้ ัดเจน
คือค�ำในกลุ่มทีม่ ีความหมายว่า “ท่ีอยอู่ าศยั ” ดังตวั อยา่ ง
เรือน กระท่อม กระตอ๊ บ กระตูบ ตบู
บา้ นแฝด บา้ นพกั เคหาสน์ คฤหาสน์
ทาวน์เฮาส์ คอนโดมเิ นียม อาคารชดุ หอพกั