Page 26 - วิถีไทย
P. 26

3-16 วถิ ีไทย

4. 	ภาษาสะท้อนสภาพแวดล้อม

       สภาพแวดลอ้ มเปน็ สว่ นหนง่ึ ในการหลอ่ หลอมและดำ� รงชวี ติ คนในสงั คมพง่ึ พาอาศยั สภาพแวดลอ้ ม
หลายด้านท้ังธรรมชาติ วัฒนธรรม และสังคมมาเป็นปัจจัยเกื้อหนุนในฐานความคิดหรือมโนทัศน์ในการ
มองโลก เม่ือพจิ ารณาในมมุ กลับ การศกึ ษาภาพสะทอ้ นตา่ งๆ ทก่ี ล่าวไวก้ ็ศกึ ษาผ่านภาษาได้ด้วยเช่นกัน
ทง้ั ถ้อยคำ�  ส�ำนวนภาษิต เพลงพน้ื บา้ น หรือนิทานพ้นื บ้าน ซึ่งในทนี่ ้ีจะกล่าวถงึ เพียงบางส่วนดงั น้ี

       ภาพสะท้อนสภาพแวดล้อมผ่านภาษิตส�ำนวน ในภาษาไทยจ�ำแนกภาษิตส�ำนวนเป็น สุภาษิต
คำ� พงั เพย และสำ� นวนไทย แตใ่ นทนี่ เ้ี รยี กรวมวา่ ภาษติ สำ� นวน สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาตเิ ปน็ วถิ สี ำ� คญั
หนงึ่ สงั คม อกี ทงั้ ยงั เปน็ แหลง่ ทรพั ยากรสำ� คญั ทเ่ี ออื้ ประโยชนแ์ กค่ น ในวถิ ไี ทยมที รพั ยากรอนั อดุ มสมบรู ณ์
ท้ังป่าไม้ ล�ำน�้ำ  และสินแร่ ท�ำให้คนไทยเห็นคุณค่าของธรรมชาติ ในภาษาไทยจึงมีภาษิตส�ำนวนที่ฉาย
ภาพธรรมชาตทิ ี่รายลอ้ ม ดงั ตัวอย่างภาษติ สำ� นวนทเี่ กย่ี วข้องกับ “น�้ำ ล�ำนำ�้ ” ดงั ตัวอยา่ ง

            น�้ำขึ้นให้รบี ตกั
            น�้ำเชยี่ วอย่าขวางเรอื
            นำ้� ร้อนปลาเป็น น�้ำเยน็ ปลาตาย
            น�้ำลดตอผดุ
            น้�ำพึ่งเรอื เสือพึง่ ปา่
            ฯลฯ
       ภาษติ และสำ� นวนทีเ่ กย่ี วกับ “น้�ำ ล�ำนำ้� ” เหล่านี้สะท้อนวา่ คนไทยผกู พนั และอาศยั น้�ำในวิถีชวี ิต
นอกจากนยี้ ังมบี างสำ� นวนทไี่ มป่ รากฏค�ำวา่ “น�ำ้ ” แต่เกยี่ วโยงถงึ ลำ� น้�ำดว้ ย อาทิ “ใหท้ ่า” ส�ำนวนนี้เกดิ
จากใชเ้ รอื และสายนำ้� ในการเดนิ ทาง เมอื่ จะนำ� เรอื เทยี บทา่ ตอ้ งใหเ้ จา้ ของยนิ ยอมใหเ้ ขา้ ทา่ จงึ เปน็ ทม่ี าของ
ภาษติ สำ� นวนดังกลา่ ว นอกจากน้ยี งั มีภาษิตสำ� นวนทเ่ี ก่ียวกบั “สัตว”์ ดังตวั อย่าง
            ไก่ไดพ้ ลอย
            ตีวัวกระทบคราด
            ซือ้ ควายหน้านา ซ้อื ผ้าหนา้ ตรษุ
            ดูชา้ งใหด้ หู าง ดูนางใหด้ ูแม่
            ตงี ใู ห้กากิน
            ฯลฯ
       ภาษิตส�ำนวนกลุ่มน้ียังแสดงว่าวิถีไทยอุดมด้วยสัตว์ต่างๆ ส่วนใหญ่คนก็ใช้ประโยชน์ท้ังเป็น
สัตวเ์ ล้ยี ง บรโิ ภค หรือนำ� มาใช้เป็นแรงงานทางเกษตรกรรม
       ภาพสะท้อนสภาพแวดล้อมผ่านเพลงพ้ืนบ้าน ค�ำร้องในเพลงพื้นบ้านใช้ภาษาเป็นสื่อหลักเพื่อ
ถ่ายทอดภูมิปัญญาและมรดกทางวัฒนธรรมทั้งลักษณะร่วมและลักษณะเฉพาะของท้องถิ่น เพลงพ้ืนบ้าน
เปน็ วฒั นธรรมสะทอ้ นความคดิ และความงามทางศลิ ปะในทอ้ งถน่ิ เพลงพ้นื บา้ นแตล่ ะท้องถน่ิ ยอ่ มตา่ งกนั
ไปตามสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมและวิถีชวี ิต ดังตัวอย่างเพลงชกั ชวนสาวงาม ซ่ึงเปน็ เพลงปฏิพากย์
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31