Page 28 - วิถีไทย
P. 28

3-18 วิถไี ทย

ตอนที่ 3.2
การเปล่ียนแปลงภาษาและความหลากหลายของภาษาในวิถีไทย

โปรดอ่านหัวเร่ือง แนวคดิ และวตั ถปุ ระสงคข์ องตอนที่ 3.2 แล้วจงึ ศกึ ษารายละเอยี ดตอ่ ไป

  หัวเร่ือง

          3.2.1 	การเปลย่ี นแปลงค�ำและความหมายในวถิ ไี ทย
          3.2.2 	การเปลย่ี นแปลงส�ำนวนในวิถไี ทย
          3.2.3 	ความหลากหลายของภาษาในวิถีไทย

  แนวคิด

          1. 	การเปลย่ี นแปลงดา้ นคำ� มที ง้ั การสญู คำ� และการเพม่ิ คำ�  อนั ถอื เปน็ ภาวะปกตขิ องทกุ ภาษา
             ทยี่ อ่ มตอ้ งมคี ำ� เกดิ ใหมแ่ ละมคี ำ� ทเ่ี ลกิ ใช้ สว่ นการเปลย่ี นแปลงความหมายของคำ� แบง่ ได้
             เป็นความหมายขยายออก ความหมายแคบเข้า และความหมายยา้ ยท่ี

          2. 	การเปล่ียนแปลงส�ำนวนในวิถีไทยเกิดข้ึนตามกาลเวลาแบ่งเป็นการเปล่ียนแปลงการใช้
             ถ้อยค�ำในส�ำนวน การเปลี่ยนแปลงความหมายของส�ำนวน และส�ำนวนท่ีเลิกใช้แล้วใน
             ปจั จุบนั

          3.	 ค วามหลากหลายของภาษาในวิถีไทยเกิดจากปัจจัยด้านชาติพันธุ์ของกลุ่มผู้พูดภาษา
             และด้านภูมิศาสตร์ของประเทศไทย ความหลากหลายด้านชาติพันธุ์ท�ำให้มีภาษากลุ่ม
             ชาติพันธุ์จ�ำนวนมาก ส่วนด้านภูมิศาสตร์ท�ำให้เกิดความหลากหลายของภาษาถ่ิน
             นอกจากนี้ความหลากหลายของภาษาในวถิ ไี ทยยงั เกดิ จากการใชภ้ าษาอันเนือ่ งมาจาก
             การหลากคำ� และการแปรภาษา

  วัตถุประสงค์

          เมื่อศึกษาตอนที่ 3.2 จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ
          1. 	บอกการเปล่ยี นแปลงค�ำและความหมายในวิถีไทยได้
          2. 	บอกการเปลีย่ นแปลงส�ำนวนในวถิ ไี ทยได้
          3. 	อธิบายความหลากหลายของภาษาในวิถไี ทยได้
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33