Page 30 - วิถีไทย
P. 30

3-20 วิถไี ทย
คำ� ใหมเ่ พอ่ื ความจำ� เปน็ ในการสอื่ สาร การสญู คำ� และการเพมิ่ คำ� เปน็ เรอื่ งปกตขิ องภาษาทเี่ ปน็ ปรากฏการณ์
ในแตล่ ะยคุ สมยั คำ� ๆ หนง่ึ เมอ่ื ไมม่ คี วามจำ� เปน็ กเ็ ลกิ ใช้ คำ� ศพั ทน์ น้ั กจ็ ะสญู ไป ในทำ� นองกลบั กนั หากมสี ง่ิ
ท่เี ขา้ มาใหมแ่ ต่ยังไมม่ ีค�ำใช้เรียกก็จ�ำเปน็ ตอ้ งสรา้ งคำ� เพ่ิม

       การสูญค�ำยิ่งเห็นชัดหากศึกษาจากภาษาสมัยโบราณ เนื่องจากสภาพสังคมและวิถีชีวิต
เปลย่ี นแปลงไปมาก แมใ้ นปจั จบุ นั ไมม่ ผี พู้ ดู ภาษาโบราณอยแู่ ลว้ กต็ าม แตส่ ามารถศกึ ษาจากเอกสารลาย-
ลักษณ์อักษรที่แต่งในสมัยนั้นได้ ในท่ีน้ีจะน�ำข้อความท่ีปรากฏในจารึกหลักท่ี 1 จารึกพ่อขุนรามค�ำแหง
มหาราช มาเป็นตวั อยา่ ง

         “เมื่อกูขึ้นใหญ่ไดส้ บิ เก้าเขา้ ขนุ สามชนเจ้าเมืองฉอดมาทเ่ มอื งตาก”
                                                                 (ดา้ นท่ี 1 บรรทดั ที่ 5)

       คำ� ทปี่ จั จบุ นั เลกิ ใช้คือ ข้ึนใหญ่ มีความหมายตรงกับค�ำวา่ “เตบิ โต” หรอื ตัวอยา่ งจากจารึกหลกั
ที่ 3 จารกึ นครชมุ

         “ฝงู เจ้าขนุ พราหมณเ์ ศรษฐี ถอยจากเป็นมลากเป็นดีเขา้ แตน่ นั้ แลยังฝงู รู้หลวก”
                                                                (ด้านท่ี 1 บรรทัดที่ 22)

       ค�ำท่ีปัจจุบันเลิกใช้คือ มลาก มีความหมายว่า “ดี” และ หลวก มีความหมายว่า “ฉลาด หลัก
แหลม”12

       โดยทวั่ ไปกระบวนการสญู คำ� เรมิ่ จากความนยิ มทลี่ ดลง เมอื่ ไมน่ ยิ มคำ� ดงั กลา่ วกส็ ญู หายไปในทส่ี ดุ
อกี ทงั้ เมอ่ื คำ� ใดคำ� หนงึ่ ไมเ่ ปน็ ทนี่ ยิ มใชแ้ ลว้ ผใู้ ชภ้ าษามกั เกดิ ทรรศนะ “เชย” หรอื ไมร่ ว่ มสมยั หรอื ถกู มอง
วา่ ไม่ใชค่ นในกล่มุ สมาชิกเดยี วกัน ลองพิจารณาจากประโยคต่อไปน้ี

         พรุ่งนเ้ี ขาคงจะออกจากบา้ นแปดโมงกระมัง
         รถบโุ รท่ังแบบนค้ี งไม่มีใครต้องการหรอก
       ค�ำว่า กระมัง ในประโยคแรก มีความหมายแสดงความไม่แน่ใจ เป็นค�ำท่ีใช้แสดงการคะเน มัก
ปรากฏในท้ายประโยค ส่วนค�ำว่า บุโรทั่ง เป็นค�ำวิเศษณ์ แปลว่า “เก่าทรุดโทรม” ในปัจจุบันทั้งค�ำว่า
กระมงั และ บโุ รทง่ั ไมน่ ยิ มใชใ้ นกลมุ่ ผพู้ ดู ทม่ี อี ายนุ อ้ ยและกลมุ่ วยั รนุ่ แลว้ ไมแ่ นว่ า่ ตอ่ ไปคำ� ทงั้ สองอาจสญู
ไปจากภาษาก็ได้

         12 ประเสรฐิ ณ นคร. (2547). การอธบิ ายศิลาจารึกสมยั สโุ ขทัย. นนทบรุ :ี สำ� นกั พิมพม์ หาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช.
น. 115.
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35