Page 35 - วิถีไทย
P. 35
ภาษาในวิถไี ทย 3-25
2. การเปลย่ี นแปลงความหมายกวา้ งออก คอื คำ� ทเ่ี ดมิ มคี วามหมายเดยี ว ตอ่ มามคี วามหมายเพมิ่ ขนึ้
หรอื แตเ่ ดมิ คำ� ใชเ้ รยี กหรอื ใชบ้ อกลกั ษณะทมี่ คี วามหมายเฉพาะ ตอ่ มาจงึ มาใชใ้ นสถานการณอ์ น่ื ๆ เพมิ่ ขน้ึ
เชน่ คำ� วา่ คนั ความหมายเดมิ ในภาษาไทยใชแ้ ก่ “อาการทร่ี า่ งกายรสู้ กึ อยากเกา” ในปจั จบุ นั นอกจากใช้
ในความหมายดังกล่าวแล้ว ยังหมายถึง “อาการที่มือหรือปากอยู่ไม่สุข คืออยากพูดหรืออยากท�ำส่ิงใด
สิง่ หน่ึง เชน่ คนั ปาก คนั ไมค้ นั มอื ” ความหมายของคนั ในปัจจุบนั กวา้ งกวา่ ในอดตี
เรื่องท่ี 3.2.2
การเปลี่ยนแปลงส�ำนวนในวิถีไทย
สำ� นวนคอื ถอ้ ยคำ� หรอื ขอ้ ความทก่ี ลา่ วสบื ตอ่ กนั มา โดยมากมคี วามหมายไมต่ รงตวั หรอื มคี วามหมาย
แฝงอยู่ ส�ำนวนเป็นถ้อยค�ำที่มนุษย์กล่าวเชิงเปรียบเทียบเพื่อสั่งสอน ให้แง่คิด หรือเป็นคติเตือนใจ แม้
สำ� นวนจะเปน็ คำ� กลา่ วทม่ี คี วามหมายไมต่ รงตวั และมคี วามหมายแฝงอยใู่ นถอ้ ยคำ� แตผ่ ฟู้ งั กเ็ ขา้ ใจความหมาย
ได้ อย่างไรก็ดีส�ำนวนเป็นการใช้ภาษาแบบหนึ่งจึงมีการเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลาเช่นกัน การ
เปลย่ี นแปลงนนั้ มที งั้ การเปลยี่ นแปลงการใชถ้ อ้ ยคำ� การเปลยี่ นแปลงความหมาย และสำ� นวนทเี่ ลกิ ใชแ้ ลว้
ในปัจจุบัน15 ดงั น้ี
1. การเปลี่ยนแปลงการใช้ถ้อยค�ำ คอื การเปล่ยี นแปลงทีใ่ ช้ถอ้ ยคำ� บางคำ� ตา่ งไปจากเดมิ โดยที่
ความหมายของส�ำนวนยังเหมือนเดิม การเปลี่ยนแปลงของถ้อยค�ำมีทั้งการเปลี่ยน เพ่ิม สลับ และตัด
ถอ้ ยคำ� บางคำ� นอกจากนีบ้ างสำ� นวนยงั เปลีย่ นเสยี งพยญั ชนะหรอื สระของคำ� ดงั ตัวอย่าง
ส�ำนวนเดิม ส�ำนวนปัจจุบนั
ส้ินญาตขิ าดอโี ต้ ไร้ญาตขิ าดมติ ร
มือไมพ่ ายเอาตีนราน�้ำ มือไมพ่ ายเอาเท้าราน้�ำ
สู้จนเย็บตา สู้จนยิบตา
พิมเสนแลกเกลอื อยา่ เอาพมิ เสนไปแลกกับเกลือ
ก.ข. ไมก่ ระดิกหู ไม่กระดิกหู
ตนี ถีบปากกดั ปากกดั ตีนถีบ
15 ไขสริ ิ ปราโมช ณ อยธุ ยา. (2526). การเปลี่ยนแปลงถอ้ ยคำ� และความหมายของสำ� นวนไทย. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั พมิ พ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .