Page 36 - วิถีไทย
P. 36
3-26 วถิ ไี ทย
ส�ำนวนส้นิ ญาติขาดอีโต้ เปลีย่ นจากคำ� วา่ ส้ิน เปน็ ไร้ และจากค�ำวา่ อีโต้ เป็น มิตร ปัจจบุ ันใช้
วา่ ไรญ้ าตขิ าดมติ ร หมายวา่ “หมดญาตพิ น่ี อ้ ง อยลู่ ำ� พงั ตวั คนเดยี ว แมก้ ระทง่ั เพอื่ นแทก้ ไ็ มเ่ หลอื ” สำ� นวน
มอื ไมพ่ ายเอาตนี รานำ�้ เปลย่ี นแปลงถอ้ ยคำ� จากคำ� วา่ ตนี เปน็ เทา้ อาจมาจากเหตทุ ว่ี า่ ตนี เปน็ คำ� หยาบ
ฟงั แลว้ ไมส่ ภุ าพจงึ เลอื กใชค้ ำ� สภุ าพทมี่ คี วามหมายเดยี วกนั สำ� นวนนหี้ มายถงึ “ไมช่ ว่ ยทำ� งานแลว้ ยงั เกะกะ
ขัดขวาง ท�ำให้งานเดินไม่สะดวก” ส�ำนวนสู้จนเย็บตา เปล่ียนเสียงสระในค�ำว่า เย็บ เป็น ยิบ ส�ำนวน
ปจั จบุ นั ใชว้ า่ สจู้ นยบิ ตา หรอื สยู้ บิ ตา มคี วามหมายวา่ “สจู้ นถงึ ทสี่ ดุ สไู้ มถ่ อย” ทมี่ าของสำ� นวนนม้ี าจาก
การเลน่ ชนไกข่ องคนไทยทไี่ กจ่ กิ ตกี นั จนหนา้ ตาฉกี เจา้ ของกเ็ ยบ็ ตาและใหก้ ลบั ไปสอู้ กี ครงั้ สำ� นวนพมิ เสน
แลกเกลือ เพิม่ ค�ำว่า อยา่ เอา หนา้ สำ� นวนเดมิ และแทรกคำ� วา่ ไป และ กับ กลางสำ� นวน ส�ำนวนนใ้ี น
ปจั จุบนั มักใชว้ า่ อย่าเอาพมิ เสนไปแลกกับเกลือ มคี วามหมายว่า “ไม่ควรลดตวั ไปทำ� อะไรตอ่ สง่ิ ท่ีต่ำ� กวา่ ”
หรอื “ไมค่ วรไปเอาเรอื่ งเอาราวกบั คนทม่ี ฐี านะดอ้ ยกวา่ ” สำ� นวน ก.ข. ไมก่ ระดกิ หู ตดั คำ� วา่ ก.ข. ซงึ่ เปน็
พยัญชนะไทยที่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบกับการอ่านออกเขียนได้ ในปัจจุบันใช้ว่าไม่กระดิกหู
หมายความว่า “ไม่รู้หนังสือ อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้” ส่วนส�ำนวนตีนถีบปากกัด เปลี่ยนแปลงโดยการ
สลับทขี่ องคำ� โดยน�ำปากกดั มาไวข้ ้างหน้า ในปัจจบุ ันใช้ว่าปากกัดตีนถีบ หมายถึง “มานะบากบ่ันท�ำงาน
อยา่ งไม่เหน็ แกค่ วามเหน็ดเหนือ่ ย”
ในบางกรณีส�ำนวนปัจจุบันตัดค�ำบางค�ำออกจากส�ำนวนเดิม ด้วยเหตุที่ว่าไม่ทราบท่ีมาท่ีไปของ
ถอ้ ยคำ� อาทิ สำ� นวน เอาปนู หมายหวั ปจั จบุ นั ใชเ้ พยี งวา่ หมายหวั โดยตดั คำ� วา่ เอาปนู เนอ่ื งจากธรรมเนยี ม
การเอาปูนป้ายหรือแต้มหัวเด็กเลิกไปแล้ว กาญจนาคพันธุ์16 อธิบายธรรมเนียมดังกล่าวว่า ในอดีตเม่ือ
คลอดลูกแล้วเด็กตาย หมอต�ำแยจะเอาปูนปาดหรือแต้มหัวเด็กไว้ เพ่ือว่าหากคลอดลูกคนต่อไปแล้วมี
ปานแดง ปานด�ำตดิ ตวั มาก็ทราบได้วา่ ลูกท่ีตายไปแล้วมาเกิดใหม่ แมว้ ่าความเชอื่ เร่ืองปานแดงปานดำ� ที่
ติดตัวเด็กยังมีปรากฏอยู่ในสังคมไทยก็ตาม แต่ธรรมเนียมกันเอาปูนแต้มหัวเด็กท่ีตายหลังคลอดเลิกไป
แลว้ จงึ เปน็ มลู เหตใุ หส้ �ำนวนเอาปนู หมายหัว ไม่เป็นทีเ่ ข้าใจของคนท่วั ไป
การเปลีย่ นแปลงถอ้ ยค�ำในส�ำนวนยังมอี กี มาก ในบางกรณีเมอื่ เปลย่ี นแปลงแล้วอาจใชท้ ั้งสำ� นวน
เดิมและส�ำนวนท่ีเปล่ียนแปลง อาทิ น้�ำส่ังฟ้า ปลาส่ังฝน และฝนส่ังฟ้า ปลาสั่งน�้ำ ทั้งสองมีความหมาย
ท�ำนองเดียวกนั วา่ การสั่งเสียครั้งสดุ ท้ายหรือการจากลากนั
2. การเปล่ียนแปลงความหมายของส�ำนวน คอื การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ เฉพาะความหมายโดย
ถอ้ ยคำ� ของสำ� นวนยงั คงเดมิ การเปลยี่ นแปลงนน้ั มที งั้ ทเี่ ปลยี่ นแลว้ ไมเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ความหมายเดมิ เลย หรอื
เปลี่ยนแล้วยังสัมพันธ์กับความหมายเดิมอยู่17 ความหมายท่ีเปลี่ยนแปลงไปอาจเกิดจากข้อปฏิบัติหรือ
ธรรมเนยี มของสังคมมกี ารเปลย่ี นแปลง หรอื อาจมาจากเหตทุ ่ีว่าความหมายของถอ้ ยค�ำสำ� นวนเล่ือนไหล
ไปตามความนิยม ในกรณหี ลงั เกิดจากการใชเ้ ป็นความหมายสแลง ดังตวั อย่าง
16 กาญจนาคพันธ.์ุ (2522). สำ� นวนไทย เล่ม 1-2 (พิมพค์ ร้ังท่ี 3). กรุงเทพฯ: สำ� นกั พิมพ์บำ� รงุ สาสน.์ น. 572.
17 ไขสิริ ปราโมช ณ อยุธยา. เรอื่ งเดิม.