Page 25 - วิถีไทย
P. 25
ภาษาในวิถไี ทย 3-15
คำ� ทน่ี ำ� มาในตวั อยา่ งสะทอ้ นสภาพความเปน็ อยขู่ องคนแตล่ ะกลมุ่ ได้ กลมุ่ แรกเปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั ของ
คนไทยทสี่ รา้ งจากวสั ดธุ รรมชาตแิ ละไมซ่ บั ซอ้ น ทงั้ เรอื น กระทอ่ ม กระตอ๊ บ กระตบู ตบู คำ� เหลา่ นสี้ มั พนั ธ์
กบั วิถีความเปน็ อยูอ่ ยา่ งไทยทีเ่ รียบงา่ ย และอาศัยธรรมชาตใิ นการดำ� รงชพี ส่วนค�ำในกลุ่มที่สองคือ บา้ น
บา้ นพกั เคหาสน์ คฤหาสน์ สะทอ้ นความเปน็ อยขู่ องคนไทยทซ่ี บั ซอ้ นขน้ึ และเรมิ่ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากภายนอก
ท้ังบา้ นแฝดและบ้านพักเป็นทอี่ ยทู่ ่ีสร้างดว้ ยวัสดุแขง็ แรงทนทาน ในขณะท่เี คหาสนแ์ ละคฤหาสน์เป็นท่อี ยู่
ทสี่ รา้ งจากวสั ดแุ ขง็ แรงและมขี นาดใหญโ่ อโ่ ถงอันแสดงถึงฐานะทางสังคมทีด่ ี ส�ำหรับคำ� ในกลุ่มสดุ ท้ายคือ
ทาวน์เฮาส์ คอนโดมิเนียม อาคารชุด หอพกั ทอี่ ยู่อาศยั กลมุ่ น้ีสะทอ้ นความเป็นอยขู่ องคนเขตเมืองทีม่ ีวิถี
ชวี ติ ทเ่ี รง่ รบี และเปน็ ครอบครวั ขนาดเลก็ คำ� เรยี กทอ่ี ยอู่ าศยั กลมุ่ นล้ี ว้ นสรา้ งตามแบบตะวนั ตกจากวสั ดแุ ขง็ แรง
บนพ้นื ที่จ�ำกัด โดยมากจะสรา้ งบนพืน้ ทเ่ี ลก็ แตม่ หี ลายชนั้ เพอ่ื รองรับผ้อู ยูอ่ าศัยจำ� นวนมาก
เมื่อกล่าวถึงสภาพที่อยู่อาศัยแล้วจ�ำเป็นต้องกล่าวถึงวิถีการกิน ในท่ีน้ีจะกล่าวถึงการประกอบ
อาหารเน่ืองจากเป็นส่วนหนงึ่ ของความเป็นไทยทีม่ ีความละเอยี ดละเมียดละไมผ่านถ้อยคำ� ที่สะทอ้ นความ
เปน็ อยไู่ ดท้ างหนงึ่ ดว้ ย ในกระบวนการประกอบอาหารถอ้ ยคำ� ในภาษาไทยกลมุ่ หนงึ่ แสดงวธิ กี ารปรงุ อาหาร
หลายชนดิ ทง้ั หงุ ตม้ แกง ทอด นง่ึ คำ� เหลา่ นแี้ สดงวา่ วถิ ไี ทยใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ วธิ กี ารปรงุ อาหาร วตั ถดุ บิ
หน่ึงอย่างสามารถน�ำไปประกอบอาหารได้หลายชนดิ ข้ึนอยู่กับวิธกี ารปรงุ เช่น ต้มยำ� ไก่ แกงไก่ ไก่ทอด
ไก่น่ึงตะไคร้ รายช่ืออาหารหรือประเภทอาหารที่ต่างกันเกิดจากความละเมียดละไมและความใส่ใจในการ
ปรุงอาหาร อีกทงั้ ยังสะทอ้ นความเปน็ อยู่แบบ “ไทย” ทีค่ นในสังคมทานอาหารเป็นสำ� รบั ดังสำ� นวนไทยที่
ว่า “ส�ำรับกับข้าว” ที่ประกอบด้วยข้าวเป็นอาหารหลักและมีกับข้าว ความเป็นอยู่แบบไทยจึงใช้เวลาใน
การทานอาหารเปน็ ส�ำรับทีท่ านรว่ มกันในครอบครัว
ความละเมียดละไม และประณีตในการประกอบอาหาร พนิ จิ ผ่านถ้อยคำ� ไดเ้ ชน่ กัน ในภาษาไทย
พบคำ� ในกลมุ่ ความหมายใกล้เคยี งกนั จ�ำนวนมาก อาทิ คำ� ในกลุ่มความหมาย “ตัด” ที่ใชป้ ระกอบอาหาร
ดงั ตวั อย่าง
ใหแ้ ล่เนื้อเป็นช้นิ บางๆ กอ่ นจงึ คอ่ ยหมกั เกลือ
กอ่ นนำ� ไปลา้ งน้�ำให้ขอดเกลด็ ออกก่อน
ควา้ นไส้แตงกวาออกใหห้ มด ก่อนใสไ่ ส้หมสู ับลงไป
ก่อนทจี่ ะน�ำไปหมกั เครอ่ื งปรงุ สับใหล้ ะเอียดก่อนเสมอ
ทงั้ คำ� วา่ แล่ ขอด ควา้ น และสบั ใชอ้ ธบิ ายวธิ ปี ระกอบอาหาร แมเ้ ปน็ การทำ� วตั ถใุ หข้ าดออกจากกนั
แต่ท้ังส่ีค�ำมีวิธีท�ำให้ขาดต่างกัน กล่าวคือ แล่ ท�ำให้เน้ือสัตว์ขาดออกเป็นชิ้นบางๆ โดยใช้วิธีทะแยงมีด
ขอด การตัดหรือขูดเกล็ดปลาใหห้ ลุดออกจนผวิ เรยี บ ควา้ น ใช้ปลายมีดตัดวนเป็นชอ่ งเขา้ ไปภายใน สบั
ทำ� ให้เนือ้ วตั ถเุ ปน็ ช้นิ ละเอยี ด โดยลงมดี หนกั ๆ ถ่ีๆ หรอื การลงคมมดี หนกั ๆ บนวตั ถุแข็ง เช่น กระดูก10
การตดั ดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ เหลา่ นขี้ น้ึ อยกู่ บั ชนดิ ของอาหารและวธิ กี ารปรงุ อาหารทม่ี ลี กั ษณะเฉพาะแตกตา่ งกนั
10 สุวไิ ล เปรมศรีรตั น.์ (2526). เรือ่ งค�ำ “ตัด” ในภาษาไทย. วารสารภาษาและวฒั นธรรม, ปที ่ี 3 ฉบับท่ี 1, น. 24-26.