Page 58 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 58
6-48 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถ่นิ
- มอดสม์ กี ารจดั กลมุ่ ขอ้ มลู เปน็ ระดบั ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ระดบั เขตขอ้ มลู หลกั เปน็ “main
elements” ระดับเขตข้อมูลยอ่ ย เปน็ “child elements” หรอื ใช้วา่ “subelements” ส่วนย่อยของเขต
ข้อมูลย่อย ใช้ค�ำว่า “sub of subelements” และมีตัวระบุคุณสมบัติหรือขยายความหมายของข้อมูลท่ี
เรยี กวา่ “attributes” ทีบ่ นั ทกึ ในเขตข้อมลู ระดบั ต่างๆ ทง้ั elements และ subelements ซง่ึ อาจเทยี บ
ไดก้ ับหนา้ ทข่ี องตัวบง่ ชใ้ี นกลุ่มเขตข้อมลู ไม่จำ� กดั ความยาว (variable data fields) (0XX-9XX) ของ
ชดุ หนว่ ยขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รม โดยในบางเขตขอ้ มลู ของมอดส์ มกี ารจดั รปู แบบกลมุ่ เขตขอ้ มลู ยอ่ ยภายใน
ใหม่ หรอื ในบางกรณีอาจรวมหลายๆ เขตข้อมูลย่อยของมารค์ เปน็ หน่ึงเขตข้อมลู ของมอดสก์ ็ได้
ตวั อย่างเช่น <titleInfo> เป็น main element ทร่ี วม subelements ท่บี ันทกึ ข้อมลู
ส่วนย่อย ได้แก่ <title>, <partNumber>, <partName> และ <nonSort> ดังนี้ <titleInfo> จะเป็น
wrapper tag ที่บรรจรุ วม subelements ทช่ี ่ือ <title>, <partNumber>, <partName> และ <nonSort>
เขา้ ไว้อยู่ภายใน โดยจะไมม่ ีการบนั ทึกขอ้ มูลในระดับของ <titleInfo>
4.2 มาตรฐานการเข้ารหัสตัวแทนทรัพยากรสารสนเทศ (encoding standards) ตัวแทน
สารสนเทศท่ีน�ำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ต้องเข้ารหัสเพ่ือให้จัดการและแสดงผลได้ด้วยเคร่ืองตัวแทน
สารสนเทศในเครื่องมือช่วยค้น ถ้าถูกวางในฐานข้อมูลออนไลน์ต้องน�ำมาเข้ารหัสก่อนจึงจะช่วยค้นได้
การเขา้ รหัสคอื การก�ำกับสว่ นต่างๆ ของตวั แทนสารสนเทศ โดยเฉพาะตัวแทนสารสนเทศที่มหี ลายระดบั
ทัง้ ที่อยู่ในรปู ระเบียนตัวแทนสารสนเทศที่เป็นระเบียนเดี่ยวและที่มีหลายๆ ระเบียนทสี่ มั พนั ธ์กัน รวมทั้ง
ระเบยี นตัวแทนขอ้ มลู ดา้ นการบริหารจดั การ ดว้ ยรหัสทีอ่ าจเป็นปา้ ยหรอื แทก็ หมายเลข ตัวอักษร หรือ
คำ� หรอื สญั ลกั ษณอ์ นื่ ๆ เพอ่ื แยกสารสนเทศเปน็ สว่ นๆ ตวั อยา่ งเชน่ ในมาตรฐานมารค์ ใช้ tag 100 สำ� หรบั
ก�ำกับเขตข้อมูลช่ือผู้แต่งท่ีเป็นบุคคล หรือในภาษาเอ็กซ์เอ็มแอล (XML markup language) เช่น
มาตรฐานทอี ไี อ (TEI) กำ� กบั ชอ่ื ผแู้ ตง่ ทเี่ ปน็ บคุ คลดว้ ยแทก็ ทเี่ ปน็ คำ� ในภาษาองั กฤษคำ� วา่ “author” โดย
นำ� ด้วยแท็กเปดิ "<author>" และตามดว้ ยแทก็ ปิด "</author>"
วตั ถุประสงคข์ องการเข้ารหัสระเบยี น เพื่อการเข้าถงึ สว่ นต่างๆ ของระเบียนได้ เพ่อื การแสดงผล
ส่วนต่างๆ ของระเบียนได้ เพื่อรวมให้อักขระในภาษาต่างๆ ถูกค้นและแสดงผลได้ในแฟ้มเดียวกัน และ
เพอ่ื การถา่ ยโอนข้อมลู กนั ไดใ้ นระหวา่ งตา่ งระบบทใ่ี ช้ฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์ต่างกัน
ตวั อยา่ งมาตรฐานการเขา้ รหสั ระเบยี นทใ่ี ชใ้ นปจั จบุ นั เชน่ MARC, XML, RDF, METS เปน็ ตน้
4.2.1 มาตรฐานการลงรายการท่ีเครื่องอ่านได้หรือมาร์ค มาตรฐานมาร์ค (Machine
Readable Cataloging: MARC) เป็นรูปแบบการลงรายการที่เคร่ืองคอมพิวเตอร์อ่านได้ ช่วยในการ
สอ่ื สารข้อมลู ทั้งในระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ และระหว่างผใู้ ชใ้ นระดบั ตา่ งๆ คอื คนกบั คน คนกบั เครอ่ื ง และ
เคร่ืองกับเครื่องที่ใช้โครงสร้างระเบียนตามมาตรฐาน ISO2709 และ/หรือ ANSI Z39.2 มาร์คได้รับ
การพฒั นาโดยหอสมุดรัฐสภาอเมริกนั เวอร์ชนั ท่ใี ชใ้ นปัจจบุ นั คือ มาร์คย่สี ิบเอ็ด (MARC 21)
1) รูปแบบการบันทึกข้อมูล มาร์คยี่สิบเอ็ดก�ำหนดรูปแบบการบันทึก/ก�ำกับข้อมูล
ในลักษณะตา่ งๆ 5 รูปแบบ คือ
- รูปแบบส�ำหรับบันทึกข้อมูลท่ีเป็นชื่อ/ค�ำ/กลุ่มค�ำที่ก�ำหนดขึ้นเป็นหลักเพ่ือ
แทนชอื่ หรือค�ำอ่ืนท่มี ีความหมายเดียวกัน (format for authority data)