Page 54 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 54
6-44 การจดั การทรพั ยากรสารสนเทศทอ้ งถนิ่
4) การใช้ค�ำศัพท์ในอาร์ดีเอ ด้วยความที่อาร์ดีเอเป็นมาตรฐานใหม่และเป็นโมเดล
ทางความคิดโมเดลใหม่ในการท�ำรายการ/สร้างตัวแทนสารสนเทศ จึงย่อมมีเทคนิคและค�ำศัพท์ใหม่
ค�ำศัพท์ท่ีส�ำคัญ เช่น ใช้ค�ำว่า resource และ information resource แทนค�ำว่า library materials,
information package, document, and คำ� อน่ื ๆ ทแ่ี ทนวสั ดแุ ตล่ ะรปู แบบ เชน่ หนงั สอื วดิ โี อเทป แผนที่
และอื่นๆ ค�ำวา่ “เอนทิตี” (entity) และ “แอทรบิ วิ ท์” (attribute) ซ่งึ เป็นคำ� ทถี่ ูกเพิม่ เขา้ ไปในคลังศัพท์
ด้านการท�ำรายการ อย่างไรกต็ าม ยงั มีค�ำศพั ท์ทีเ่ ท่ากนั กับคำ� ในหลกั เกณฑ์การท�ำรายการกอ่ นหน้านีอ้ ยู่
ดว้ ย กลมุ่ ค�ำที่อารด์ เี อได้ขยายแนวคดิ หรือเน้นความสำ� คญั เพ่มิ ขึ้น อาทิ การแยกให้เห็นความชดั เจนของ
ประเภทตัวบรรจุเน้อื หา (carrier type) และประเภทเนื้อหา (content type) ของทรัพยากร โดยเฉพาะ
การระบปุ ระเภทวสั ดอุ ยา่ งกวา้ งๆ หรอื จเี อม็ ดี (General Material Designation: GMD) ทใ่ี ชใ้ นเอเอซอี ารท์ ู
ซงึ่ ถกู แทนทดี่ ว้ ย 3 หนว่ ยขอ้ มลู ทใ่ี ชใ้ นอารด์ เี อ คอื “content type, media type, carrier type” นอกจากน้ี
ยงั มงุ่ เนน้ การระบคุ วามสมั พนั ธด์ า้ นตา่ งๆ (relationship) ไวใ้ นระเบยี นตวั แทนสารสนเทศ ทง้ั ทเ่ี ปน็ ความ
สัมพันธใ์ นระหว่างทรพั ยากรดว้ ยกนั ระหว่างทรพั ยากรและผู้สร้างงาน และในระหวา่ งผู้สรา้ งงานด้วยกนั
4.1.4 ดบั ลนิ คอรเ์ มทาดาทา (Dublin Core Metadata) เปน็ มาตรฐานในการอธบิ ายเนอ้ื หา
เร่อื งราวของทรพั ยากรสารสนเทศอเิ ล็กทรอนกิ ส์ อย่างง่าย ดับลินคอรเ์ กิดจากความพยายามร่วมกันของ
ผู้เช่ียวชาญจากสังคมห้องสมุด ชุมชนนักวิจัยห้องสมุดดิจิทัล ชุมชนด้านเครือข่าย และผู้มีความรู้เฉพาะ
สาขาวิชา ท่ีได้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทดลองใช้งานและหารือร่วมกันและได้ก�ำหนดหน่วยย่อย
ข้อมลู ขน้ึ เป็นพื้นฐาน 15 หน่วย และจดั เปน็ 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 หนว่ ยย่อยด้านเน้ือหา ได้แก่ ชื่อเรือ่ ง
หัวเรื่อง แหล่งทมี่ า/ต้นฉบบั (source) ลกั ษณะ (โดยสงั เขป) เร่อื งท่ีเกีย่ วข้อง ขอบเขต และประเภทของ
ทรพั ยากรสารสนเทศนน้ั กลมุ่ ท่ี 2 หนว่ ยยอ่ ยดา้ นรปู แบบทป่ี รากฏใหใ้ ชง้ าน รปู แบบ ขอ้ มลู ระบเุ อกลกั ษณ์
ของเอกสาร (identifier) ภาษา ปี และกลุม่ ท่ี 3 หน่วยย่อยดา้ นทรัพย์สินทางปญั ญา ได้แก่ ชอื่ เจา้ ของ
ผลงาน ช่ือผู้ร่วมงาน ชื่อส�ำนักพิมพ์ และสิทธิในงาน ดับลินคอร์ไม่ได้เกิดมาเพ่ือแทนโมเดลที่มีความ
สมบูรณ์กว่า เช่น การลงรายการด้วยเอเอซีอาร์ทูอาร์และมาร์ค แต่สร้างมาเพ่ือให้ผู้ท่ีเป็นและไม่ได้เป็น
แคต็ ตาล็อกเกอรไ์ ดใ้ ช้ในการพรรณนาทรพั ยากรสารสนเทศอย่างงา่ ย
ในทางปฏบิ ตั ใิ ช้ดบั ลินคอร์ในการพรรณนาทรพั ยากรท่อี ยูบ่ นเครือข่าย เชน่ เวบ็ ไซต์ กลา่ ว
ไดว้ า่ ดบั ลนิ คอรเ์ ปน็ โมเดลมาตรฐานทม่ี กี ารใชแ้ พรห่ ลายมากทสี่ ดุ ในบรรดาโมเดลของเมทาดาทาดว้ ยกนั
การนำ� ดบั ลนิ คอรเ์ มทาดาทาไปใชง้ านในการพรรณนาวตั ถดุ จิ ทิ ลั สามารถพจิ ารณาเลอื กใช้
ระดบั ของชดุ หนว่ ยยอ่ ยหรอื เอเลเมนตย์ อ่ ยทไ่ี ดม้ กี ารจดั คณุ ภาพไวเ้ ปน็ ระดบั งา่ ย (simple/basic/unstruc-
tured) และระดับมาตรฐาน (qualified/structured) โดยท่ัวไป จัดระดับการน�ำดับลินคอรเ์ มทาดาทาไป
ใช้งานได้เปน็ 3 ระดบั คอื 1) ดับลนิ คอร์ระดบั พน้ื ฐาน/ระดบั ทีไ่ ม่มีการระบคุ ุณสมบตั ิ 2) ดับลินคอร์ระดับ
ท่ีมีการระบุคุณสมบัติ และ 3) ดับลินคอร์ระดับท่ีมีการพัฒนาปรับใช้ตามลักษณะเฉพาะของแต่ละชุมชน
แตล่ ะระดับมรี ายละเอียด ดังน้ี