Page 49 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 49
การวเิ คราะห์ทรัพยากรสารสนเทศท้องถิน่ 6-39
กลุ่มของ ISBDs มี 10 รูปแบบ ได้แก่
- ISBD (A) รปู แบบสำ� หรบั หนงั สือโบราณ (International Standard Bibliographic Description for
Older Monographic Publication (Antiquarian))
- ISBD (CF) รปู แบบส�ำหรบั แฟม้ คอมพวิ เตอร์ (International Standard Bibliographic Description
for Computer File)
- ISBD (CM) รูปแบบส�ำหรับวัสดุแผนที่ (International Standard Bibliographic Description for
Cartographic Materials)
- ISBD (CR) รูปแบบส�ำหรับทรัพยากรท่ีเผยแพร่ต่อเน่ือง (International Standard Bibliographic
Description for Continuing Resources)
- ISBD (ER) รปู แบบสำ� หรบั ทรพั ยากรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (International Standard Bibliographic Description
for Electronic Resources)
- ISBD (G) รปู แบบสำ� หรบั รปู แบบทว่ั ไป (General International Standard Bibliographic Description)
- ISBD (M) รปู แบบสำ� หรบั หนังสือ (International Standard Bibliographic Description for
Monographic Publications)
- ISBD (NBM) รปู แบบสำ� หรบั วสั ดทุ ไี่ มใ่ ชห่ นงั สอื (International Standard Bibliographic Description
for Non-Book Materials)
- ISBD (PM) รปู แบบสำ� หรบั หนังสอื ดนตรี (International Standard Bibliographic Description for
Printed Music)
- ISBD (S) รูปแบบสำ� หรบั วารสาร (International Standard Bibliographic Description for Serials)
4.1.2 หลกั เกณฑก์ ารลงรายการแบบแองโกลอเมรกิ นั ฉบบั พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2 หรอื เอเอซอี ารท์ อู าร์
หลกั เกณฑเ์ อเอซีอารท์ ูอาร์ (Anglo–American Cataloguing Rules 2nd ed. Revision: AACR2R)
เปน็ หลกั เกณฑท์ ว่ี า่ ดว้ ยการลงรายการทรพั ยากรสารสนเทศประเภทตา่ งๆ เรม่ิ พฒั นามาจากความรว่ มมอื
กนั ของสมาคมหอ้ งสมดุ องั กฤษและสมาคมหอ้ งสมดุ อเมรกิ นั โดยใชก้ ฎและหลกั เกณฑพ์ นื้ ฐานจากหลกั การ
ทำ� รายการของลเู บต็ ซกแ้ี ละหลกั ปารสี (Lubetzky and the Paris Principles) ตงั้ แต่ ค.ศ. 1967 เรยี กวา่
AACR (1967) ซึง่ ว่าดว้ ยหลักเกณฑ์การลงรายการหนังสอื วารสาร และวัสดไุ มต่ ีพิมพบ์ างประเภทและ
จดุ เขา้ ถงึ แตใ่ นระยะแรกน้นั แมจ้ ะรว่ มกนั พัฒนาแต่การเผยแพรห่ ลกั เกณฑ์ได้แยกเปน็ สองฉบบั คอื ฉบบั
บริตชิ และฉบบั อเมริกาเหนอื เนอื่ งจากในบางหลกั เกณฑย์ ังไม่สามารถรวมเป็นแนวทางเดียวกนั ได้ ฉบบั
อเมริกาเหนือจึงเป็นความร่วมมือกันของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และสมาคม
ห้องสมุดแคนาดา ต่อมาใน ค.ศ. 1978 ได้มีการรวมฉบับบริติชและฉบับอเมริกาเหนือเป็นฉบับเดียวกัน
เป็นหลกั เกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบบั พิมพค์ รั้งท่ี 2 เรยี กวา่ AACR2 (1978) ฉบบั น้ี