Page 48 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 48

6-38 การจัดการทรพั ยากรสารสนเทศทอ้ งถนิ่

4.	 หลักเกณฑ์และมาตรฐานท่ีใช้ในการสร้างตัวแทนทรัพยากรสารสนเทศ

       มาตรฐานทีใ่ ช้ในการวเิ คราะหแ์ ละสรา้ งตวั แทนทรัพยากรสารสนเทศมี 2 ระดบั คือ มาตรฐานใน
การบรรยายทรพั ยากรสารสนเทศ และมาตรฐานในการเขา้ รหัสตัวแทนสารสนเทศ

       4.1	 หลกั เกณฑแ์ ละมาตรฐานทใ่ี ชใ้ นการบรรยายทรพั ยากรสารสนเทศ (Descriptive metadata)
เป็นมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์ที่ใช้สร้างตัวแทนทรัพยากรสารสนเทศ โดยสาระของตัวแทนทรัพยากร
สารสนเทศอธิบายหรอื บรรยายลกั ษณะที่สำ� คัญตา่ งๆ ของทรัพยากรสารสนเทศ มาตรฐานที่ส�ำคญั อาทิ
ไอเอสบีดี เอเอซีอารท์ อู าร์ อาร์ดีเอ ดบั ลินคอร์เมทาดาทา มอดส์

            4.1.1	 มาตรฐานสากลในการลงรายการบรรณานุกรมหรือไอเอสบีดี มาตรฐานไอเอสบีดี
(International Standard Bibliographic Description: ISBD) เปน็ มาตรฐานสากลวา่ ดว้ ยการบรรยาย
ลักษณะทางบรรณานกุ รมของเอกสารประเภทต่างๆ ซง่ึ กำ� หนดโดยคณะกรรมการทำ� รายการของสหพันธ์
ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด (The Committee on Cataloging of the
International Federation of Library Associations and Institutions: IFLA) การก�ำหนดมาตรฐาน
ไอเอสบีดี มวี ัตถปุ ระสงค์คอื

                 1)	 เพอื่ ใหร้ ะเบยี นบรรณานกุ รมทผ่ี ลติ ขนึ้ ในประเทศหนง่ึ หรอื โดยผสู้ รา้ งในภาษาหนง่ึ
สามารถเปน็ ทเี่ ขา้ ใจไดใ้ นประเทศอนื่ หรอื โดยผใู้ ชใ้ นภาษาอน่ื 2) เพอ่ื ใหร้ ะเบยี นบรรณานกุ รมทผ่ี ลติ ขน้ึ ใน
ประเทศหนงึ่ สามารถนำ� ไปบรู ณาการรวมกนั เปน็ แฟม้ รวมหรอื เปน็ บญั ชที ร่ี วมกบั ระเบยี นจากประเทศอนื่ ๆ
ได้ และ 3) ระเบยี นบรรณานุกรมเหล่านั้น ไม่ว่าอยู่ในรูปการเขยี นดว้ ยมือหรือในรูปการพมิ พด์ ้วยเครอ่ื ง
สามารถน�ำไปแปลงให้อยู่ในรูปแบบท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ต่อไป โดยให้มีการปรับปรุงหรือ
การบรรณาธกิ รน้อยท่ีสดุ

                 จากวัตถุประสงค์ดังกล่าว จึงมีการก�ำหนดรูปแบบหรือโครงร่างของระเบียน โดย
ก�ำหนดจ�ำนวน ล�ำดับที่และขอบเขตของส่วนข้อมูลท่ีบันทึกในระเบียนให้เป็นมาตรฐาน พร้อมกำ� หนด
เคร่ืองหมายวรรคตอนท่ีใช้ในแต่ละส่วนและระหว่างส่วนข้อมูลเพื่อแยกส่วนข้อมูลท่ีจะบรรยายให้แน่นอน
ชัดเจนขึน้ และใน ค.ศ. 1971 กไ็ ด้เกดิ เอกสารการบรรยายลกั ษณะทางบรรณานกุ รมของเอกสารประเภท
หนังสือทั้งที่เป็นเล่มเดียวจบและหลายเล่มจบขึ้นเป็นครั้งแรก ใช้ช่ือว่า ISBD (M) ตามมาด้วย ISBD
(S) ส�ำหรับบรรยายลักษณะทางบรรณานุกรมของเอกสารประเภทวารสาร ใน ค.ศ. 1973 และ ISBD
(G-general) สำ� หรับบรรยายลักษณะทางบรรณานุกรมทั่วไป เพื่อเปน็ กรอบพ้ืนฐานส�ำหรับการบรรยาย
ลักษณะทางบรรณานุกรมของเอกสารประเภทอน่ื ๆ ใน ค.ศ. 1977 หลังจากน้ันมาก็มกี ารพฒั นา ISBDs
ตวั อ่ืนๆ ตามมา จนในทส่ี ดุ มี ISBDs รวมทั้งส้ิน 10 รปู แบบ ดงั นี้
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53