Page 51 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 51

การวิเคราะหท์ รัพยากรสารสนเทศทอ้ งถน่ิ 6-41
และขอ้ มลู ทพี่ รรณนาไว้ แสดงวธิ กี ารเขา้ ถึงหรอื ได้รับทรพั ยากรท่เี ลอื กนน้ั ได้ (obtain) อาทิ แหล่งและวธิ ี
จัดซ้ือจัดหาได้ ราคา การยืมใช้จากองค์การสารสนเทศ หรือระบุต�ำแหน่งทางอิเล็กทรอนิกส์ท่ีเข้าถึง
ทรพั ยากรฯ ได้

            อาร์ดีเอเปน็ มาตรฐานใหม่ในการลงรายการท่มี าแทนทเ่ี อเอซอี ารท์ ูอาร์ เน่อื งจากรูปลักษณ์
และการใชง้ านของสารสนเทศเปลย่ี นไปตามความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ การอธบิ ายสารสนเทศ
สมัยใหม่ด้วยเอเอซีอาร์ทูอาร์เกิดข้อจ�ำกัดหลายประการ ห้องสมุดในต่างประเทศหลายแห่งโดยเฉพาะ
หอสมดุ แห่งชาตขิ องประเทศต่างๆ ทว่ั โลก ได้เปลีย่ นจากการใช้เอเอซีอารท์ ูอาร์ไปใช้อาร์ดเี อ ต้ังแต่ ค.ศ.
2013 เป็นต้นมา

                1)	 ความเป็นมาและความจ�ำเป็นของการปรับเป็นอาร์ดีเอ ด้วยกระแสความเปลีย่ น
แปลงต่างๆ ในโลกปัจจุบัน อาทิ กระแสของความต้องการการเข้าถึงข้อมูลแบบทั่วโลก กระแสการใช้
สมารท์ โฟนในการคน้ หาและเขา้ ถงึ สารสนเทศบนเวบ็ รวมทงั้ กระแสการเกดิ ระบบขอ้ มลู เชอื่ มโยงหรอื ระบบ
ลิงก์ดาตา (linked data system) ที่ท�ำให้การแสดงผลการค้นหาบนเว็บได้สารสนเทศครอบคลุมส่ิงท่ี
เก่ียวข้องกัน ไม่ว่าจะเป็นภาษาใด หรือเผยแพร่/น�ำเสนอเน้ือหาในรูปแบบใด ท�ำให้ชุมชนของห้องสมุด
ตอ้ งมกี ารบรู ณาการจดั การใหข้ อ้ มลู ทางบรรณานกุ รมเขา้ ไดก้ บั สารสนเทศในสภาพแวดลอ้ มทางอนิ เทอรเ์ นต็
เพื่อให้มีการแบ่งปันสารสนเทศสู่ภายนอกสถาบัน/องค์กร และมีการใช้งานข้อมูลทางบรรณานุกรมของ
หอ้ งสมุดในลกั ษณะทเี่ รยี กวา่ “ใครๆ กใ็ ช้ได้จากทกุ ทท่ี กุ เวลา”

                สารสนเทศที่เผยแพร่ในปัจจุบันกลายมาเป็นดิจิทัลหรือเป็นสื่อผสมบนเว็บมากขึ้น
รปู แบบการนำ� เสนอเนอ้ื หา รวมทง้ั รปู แบบของตวั บรรจเุ นอ้ื หาสารสนเทศ (information carriers) มคี วาม
ซบั ซอ้ นหลากหลายหรอื ปะปนกนั มากขนึ้ สารสนเทศบางเรอ่ื งมเี คา้ โครงเรอื่ งเดยี วกนั กบั สารสนเทศอนื่ แต่
มรี ปู แบบการนำ� เสนอตา่ งกนั อาจเปน็ เลม่ หนงั สอื เปน็ ภาพเคลอื่ นไหว หรอื เปน็ การแสดง สอ่ื บางประเภท
อาทิ เวบ็ ไซต์ มกี ารเปลย่ี นแปลงปรบั ปรงุ เนอ้ื หาบางสว่ นโดยไมก่ ระทบตอ่ แนวคดิ โดยรวม ในขณะทมี่ กี าร
ขยายตวั ของการสรา้ งตวั แทนสารสนเทศดจิ ทิ ลั ใหเ้ ปน็ ระเบยี นเมทาดาทาโดยบคุ คลทง้ั ในและนอกหอ้ งสมดุ
เพิ่มมากขึ้น รวมท้ังในปัจจุบันผู้สร้างสารสนเทศดิจิทัลก็มักสร้างระเบียนเมทาดาทาด้วยตนเอง โดยใช้
มาตรฐานเมทาดาทาที่ไม่ซบั ซ้อนมาก อาทิ ดับลินคอร์เมทาดาทา (Dublin Core Metadata) อีกทัง้ มี
บางชุมชนที่ใช้แบบแผนเมทาดาทาท่ีมีรายละเอียดหน่วยข้อมูลใกล้เคียงกับหลักเกณฑ์ท่ีใช้สร้างตัวแทน
สารสนเทศในชุมชนห้องสมุด อาทิ ชุมชนส�ำนักพิมพ์ ซึ่งมีสภาพแวดล้อมที่ใกล้เคียงกับห้องสมุดมาก
สง่ ผลใหช้ มุ ชนหอ้ งสมดุ จำ� เปน็ ตอ้ งปรบั ตวั ปรบั เปลยี่ นวธิ กี ารและปรบั ปรงุ เพม่ิ รายละเอยี ดของการอธบิ าย
สงิ่ ทเี่ ปลยี่ นแปลงไปเหลา่ น้ี เพอ่ื ใหข้ อ้ มลู ตวั แทนสารสนเทศดงั กลา่ วมคี วามชดั เจน ถกู ตอ้ ง และครอบคลมุ
เปน็ ประโยชน์ต่อผ้ใู ช้ในวงกว้าง

                ชุมชนด้านห้องสมุดและองค์การสารสนเทศต่างๆ ได้ให้ความสนใจในการปรับปรุง
เอเอซอี ารท์ ทู ช่ี มุ ชนไดใ้ ชบ้ รรยายทรพั ยากรทใ่ี หบ้ รกิ ารมาอยา่ งยาวนาน เพอ่ื นำ� มาแกป้ ญั หาทพี่ บและสาน
ตอ่ การใชห้ ลกั เกณฑด์ ังกลา่ วในสถานการณป์ จั จบุ นั หลายครั้ง แตก่ ็ยังพบปัญหาหลายประการ ด้วยเหตุท่ี
เอเอซอี ารท์ มู โี ครงสรา้ งทแ่ี ยกเนอ้ื หาหลกั เกณฑต์ ามประเภทของสารสนเทศอยา่ งชดั เจน ขาดความเชอ่ื มโยง
ความสัมพนั ธ์ระหว่างต่างประเภทกนั นอกจากน้ี มีข้อจ�ำกดั ในการอธบิ ายสารสนเทศในภาษาอน่ื ๆ ท�ำให้
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56