Page 47 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 47
การวเิ คราะห์ทรัพยากรสารสนเทศทอ้ งถ่ิน 6-37
2) ระบุตัวแทนเน้ือหาในรูปของข้อความ เป็นการใช้หลักเกณฑ์การย่อความหรือ
การตัดตอนข้อความทสี่ ำ� คญั ใหเ้ ปน็ เร่อื งยอ่ สาระสงั เขป หรือความตดั ตอน เพ่อื สร้างตัวแทนเนื้อหา
3) ระบุตัวแทนเน้ือหาในรูปของรหัสหมวดหมู่ เป็นการใช้หลักเกณฑ์การย่อความ
สำ� คญั ของเนอ้ื หาใหเ้ ปน็ รหสั หมวดหมแู่ ทน เนอ้ื หา หลกั เกณฑท์ ใี่ ชแ้ พรห่ ลาย อาทิ ระบบการจดั หมเู่ นอื้ หา/
ความรทู้ ่เี ป็นสากล เชน่ ระบบทศนยิ มดวิ อ้ี ระบบหอสมุดรฐั สภาอเมรกิ ัน ตวั แทนเน้อื หาในรปู รหัสหมวด
หม่นู ี้ ใชใ้ นส่วนระบุตัวชตี้ �ำแหนง่ ท่อี ยู่ของสารสนเทศ
2.2 ใช้ก�ำกับหรือเข้ารหัสตัวแทนสารสนเทศเพื่อให้คอมพิวเตอร์อ่านและประมวลผลได้ เป็น
การน�ำโครงสร้างและข้อก�ำหนดของการเข้ารหัสระเบียนที่เครื่องอ่านและประมวลผลได้มาก�ำกับระเบียน
ตัวแทนสารสนเทศ ใชร้ ูปแบบการลงรายการทีเ่ คร่ืองสามารถอา่ นได้ รูปแบบมารค์ (Machine Readable
Cataloging: MARC) มาร์คมีโครงสร้างตามมาตรฐานสากล (ใช้ ISO2709) ใช้ป้ายน�ำเขตข้อมูล
เป็นหมายเลขแท็ก และแบง่ ส่วนของขอ้ มูลในตวั แทนเปน็ เขตข้อมลู และเขตขอ้ มูลย่อย ช่วยในการสอื่ สาร
ถา่ ยโอนระเบยี นตวั แทนสารสนเทศจากระบบหนง่ึ ไปยงั ระบบอน่ื ได้ รวมถงึ สามารถสง่ ผา่ น ทำ� งานรว่ มกนั
และแลกเปลย่ี นตัวแทนสารสนเทศระหว่างต่างระบบได้
3. วตั ถปุ ระสงคใ์ นการใชห้ ลกั เกณฑแ์ ละมาตรฐานในการสรา้ งตวั แทนทรพั ยากรสารสนเทศ
3.1 เพ่ือให้สามารถเข้าถึงและท�ำให้มีการแสดงผลตัวแทนสารสนเทศท่ีใช้รูปแบบของมาตรฐาน
หนงึ่ ๆ มาก�ำกบั จากการจดั เกบ็ หนว่ ยยอ่ ยภายในตวั แทนด้วยการใช้หลกั เกณฑ์และมาตรฐานมากำ� หนด
ทำ� ใหส้ ามารถสร้างกลไกสำ� หรับการคน้ คืนหนว่ ยยอ่ ยนนั้ ๆ ได้ เช่น คน้ หาเฉพาะชื่อผูแ้ ตง่ ทเี่ ปน็ บุคคล ซึ่ง
จดั เกบ็ ดว้ ยการกำ� กบั ดว้ ยเขตขอ้ มลู 100 ตามมาตรฐานมารค์ หรอื แทก็ <creator>.....</creator> สำ� หรบั
เมทาดาทา เชน่ ดบั ลนิ คอรเ์ มทาดาทา
3.2 ท�ำให้สามารถส่ือสารความหมายสารสนเทศย่อยๆ ในตัวแทนสารสนเทศว่าอยู่ภายใต้หัวข้อ
เรอ่ื งเดยี วกนั หรอื รวมเปน็ หนง่ึ เดยี วกนั ได้ (integration) เนอื่ งจากภาษาตา่ งๆ ในโลกไมไ่ ดม้ เี ฉพาะอกั ษร
โรมนั เทา่ นนั้ การใชร้ หสั สากลมากำ� กบั ขอ้ มลู ทใี่ ชภ้ าษาตา่ งๆ จะทำ� ใหเ้ รอ่ื งเดยี วกนั ในหลายภาษาและหลาย
สครปิ ตเ์ ป็นที่เขา้ ใจได้ โดยมีการแสดงผลและถกู ค้นหาเสมือนเป็นไฟลเ์ ดยี วกนั
3.3 การใชม้ าตรฐานทำ� ใหส้ ามารถแลกเปลย่ี น ถา่ ยโอน ท�ำงานรว่ มกนั หรอื สง่ ผา่ นระเบยี นตวั แทน
สารสนเทศระหว่างต่างระบบได้ (data transmission) ท�ำให้สามารถร่วมใช้ระเบียนตัวแทนสารสนเทศ
จากแหล่งบนอนิ เทอรเ์ นต็ ได้ โดยไม่ต้องสรา้ งระเบยี นใหมเ่ องทุกครัง้
3.4 การใช้มาตรฐานจะทำ� ใหก้ ารค้นขา้ มระบบ ข้ามคอลเลก็ ชนั ทำ� ไดส้ ะดวก รวดเรว็ ประหยดั
เวลา และไดผ้ ลประโยชนส์ งู สดุ คอื คน้ ครงั้ เดยี วไดจ้ ากหลายแหลง่ ไมต่ อ้ งคน้ ทลี ะระบบหรอื ทลี ะคอลเลก็ ชนั