Page 43 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 43

การวเิ คราะห์ทรัพยากรสารสนเทศทอ้ งถ่ิน 6-33
ชอ่ื เรอ่ื ง เปน็ ตน้ เพอ่ื ใหผ้ ใู้ ชร้ ะบบอตั โนมตั ใิ ชเ้ ปน็ ชอ่ งทางตรวจสอบและคน้ หาไปยงั ระเบยี นทางบรรณานกุ รม
และขอ้ มลู ตวั วสั ดุสารสนเทศ

       5.4	 การท�ำรายการให้อยู่ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ (MARC tagging)
ตัวแทนสารสนเทศท่ีผ่านการวเิ คราะห์มาแล้ว จะถูกนำ� มาจัดการอยา่ งเปน็ ระบบเพอื่ ใหค้ ้นคนื ได้ในอดตี ที่
ผา่ นมา องค์การสารสนเทศสว่ นใหญ่มักจัดท�ำรายการในรูปแบบบัตร ทีเ่ รียกวา่ บัตรรายการ เป็นตัวแทน
ของทรพั ยากรสารสนเทศรายการหนงึ่ ๆ จากบตั รรายการทส่ี รา้ งในเบอ้ื งตน้ 1 บตั ร เปน็ หลกั สำ� หรบั การผลติ
บัตรประเภทอ่ืนๆ ข้ึนเป็นชุดตามจ�ำนวนและประเภทของจุดเข้าถึงที่ระบุไว้ในบัตรหลัก เช่น เป็นบัตร
ชอื่ เรอื่ ง 1 บตั ร บตั รหวั เรอ่ื ง 2-3 บตั ร บตั รเพมิ่ ผแู้ ตง่ 1 บตั ร เปน็ ตน้ บตั รรายการประเภทตา่ งๆ เหลา่ นี้ จะ
ถูกจัดเรียงตามข้อมูลจุดเข้าถึงประเภทต่างๆ ที่อยู่บนบรรทัดแรกของบัตร ตามระบบและวิธีการจัดเก็บ
เคร่ืองมือช่วยค้นท่ีสถาบันก�ำหนดใช้ ข้อมูลจุดเข้าถึงเหล่านี้ เป็นช่องทางหรือเคร่ืองมือช้ีให้ผู้ใช้ค้นพบ
รายการซง่ึ เปน็ ตวั แทนของสารสนเทศ ซงึ่ ทำ� ใหไ้ ดข้ อ้ มลู แหลง่ จดั เกบ็ สารสนเทศ (รหสั นำ� คน้ /เลขเรยี กวสั ดุ
สารสนเทศ) และสามารถเขา้ ถงึ สารสนเทศท่ตี อ้ งการจากแหลง่ ที่จดั เกบ็ ได้

       ในการท�ำรายการด้วยคอมพิวเตอร์ ต้องมีการใช้โครงสร้างการบันทึก มีการใช้ข้อมูลรหัส และ
ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ อนื่ ๆ นอกเหนอื จากขอ้ มลู ในรายการในรปู แบบดงั้ เดมิ ทงั้ นเ้ี พอื่ ใหเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอรส์ ามารถ
ประมวลผล จดั การ และแสดงผลไดต้ ามความตอ้ งการการใชง้ านจากระบบ อยา่ งไรกต็ าม แนวคดิ ของการ
สร้างข้อมูลในรายการยังคงไม่เปล่ียนแปลง กล่าวคือ มีการวิเคราะห์และสร้างข้อมูลตัวแทนลักษณะทาง
กายภาพและตัวแทนเน้ือหาของสารสนเทศท่ีท�ำหน้าท่ีแจ้งและชี้ไปสู่ตัวสารสนเทศ ตามวิธีการ ตามกฎ
หลักเกณฑ์ และมาตรฐานท่ีใช้ในการท�ำบัตรรายการตามรูปแบบเดิม เช่น ใช้หลักเกณฑ์การเลือกและลง
รายการตามหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกันฯ ใช้คู่มือหัวเร่ืองของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน
องค์ประกอบของข้อมูลในรายการกย็ ังมีขอ้ มลู ท่กี �ำหนดทง้ั 8 ส่วน ตามโครงสรา้ งรายการตามแนวคดิ เดิม
สง่ิ ทต่ี อ้ งมเี พมิ่ เตมิ ขน้ึ มาสำ� หรบั การทำ� รายการดว้ ยคอมพวิ เตอรก์ ค็ อื รปู แบบการลงรายการทเ่ี ครอื่ งสามารถ
อ่านได้ (MARC format) ที่ต้องน�ำมาก�ำกับข้อมูลตัวแทนทั้ง 8 ส่วนรวมท้ังรายการจุดเข้าถึงต่างๆ
ระเบียนรายการตามโครงสร้างมาร์ค ประกอบด้วยส่วนประกอบ 3 ส่วน ใน 2 ส่วนแรก คือ ส่วนน�ำ
(leader) และส่วนนามานุกรมระเบียนหรือแผนที่ระบุต�ำแหน่งของข้อมูลในระเบียน (directory) ซึ่งเป็น
ขอ้ มลู ในรปู รหสั ทช่ี ว่ ยในการประมวลผลระเบยี น ซงึ่ ไมไ่ ดอ้ ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของผทู้ ำ� รายการ ระบบจะ
เปน็ ผทู้ ำ� ใหอ้ ตั โนมตั ิ แตผ่ ทู้ ำ� รายการกต็ อ้ งเรยี นรวู้ ธิ ใี ชข้ อ้ มลู ในสว่ นดงั กลา่ วและสว่ นที่ 3 เปน็ สว่ นของขอ้ มลู
ตา่ งๆ ท้ัง 8 สว่ น
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48