Page 39 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 39
การวเิ คราะห์ทรพั ยากรสารสนเทศท้องถ่นิ 6-29
อ้างอิงเอกสารต้นฉบับ และมีรายละเอียดที่ระบุแหล่งท่ีมาของเอกสารที่ใช้ในการเขียนผลงาน การแจ้งให้
ทราบถงึ แหลง่ ทม่ี าของขอ้ ความหรอื แนวความคดิ หนง่ึ ๆ ทผี่ เู้ ขยี นนำ� มาประกอบในงานเขยี น เปน็ การใหเ้ กยี รติ
แก่ผู้เป็นเจ้าของแนวความคิด รวมทั้งเป็นการอ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้อ่านในการค้นหารายละเอียดของ
เรื่องน้ันๆ เพ่ิมเติม
รายการอ้างอิงในงานเขยี น แบ่งไดเ้ ปน็ 2 ลักษณะ คอื “บญั ชเี อกสารอ้างอิง (references หรอื
reference list)” และ “บรรณานกุ รม (bibliography)” ซงึ่ บญั ชเี อกสารอา้ งองิ เปน็ กลมุ่ ของรายชอ่ื พรอ้ ม
รายละเอยี ดทสี่ ำ� คญั ของเอกสารทผ่ี เู้ ขยี นผลงานไดต้ ดั ตอนขอ้ ความหรอื นำ� ขอ้ มลู ตา่ งๆ ในเอกสารเหลา่ นนั้
มาประกอบในเนื้อหาของงานเขยี น โดยท่วั ไป ผู้เขียนมกั ระบกุ ารอ้างอิงอยา่ งสน้ั ๆ แบบแทรกปนโดยอาจ
ใชร้ ะบบลำ� ดับหมายเลข หรือระบบนาม-ปี ไว้ในเน้อื หา และจดั เรยี งรายการเอกสารทีร่ ะบรุ ายละเอยี ดไว้
ทา้ ยงานเขยี น โดยเรียงรายการตามลำ� ดบั หมายเลขทไ่ี ด้อา้ งองิ ไวใ้ นเนอ้ื หา ส่วนบรรณานกุ รม เปน็ บัญชี
รายการเอกสารท่ีผู้เขียนได้ใช้แนวคิดของงาน มาเป็นพื้นฐานในงานเขียนของตน หรือเป็นกลุ่มเอกสารที่
เกยี่ วขอ้ งกบั งานเขยี นซง่ึ ผเู้ ขยี นแนะน�ำใหอ้ า่ นเพม่ิ เตมิ รายชอ่ื ของกลมุ่ เอกสารนป้ี รากฏอยทู่ ที่ า้ ยงานเขยี น
นั้นๆ โดยจัดเรยี งรายการตามล�ำดับอกั ษรชื่อผู้แต่ง
3.5 เมทาดาทา (metadata) เป็นตัวแทนสารสนเทศอีกประเภทหนึ่ง ที่ส่วนใหญ่ใช้เป็นตัวแทน
ของสารสนเทศดจิ ทิ ลั ทสี่ ามารถเขา้ ถงึ ไดท้ างเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ แตต่ ามความหมายของคำ� วา่ เมทาดาทา
(ซึ่งหมายถึงสารสนเทศเชิงโครงสร้างที่เก่ียวกับข้อมูล) สามารถใช้ครอบคลุมได้ถึงการเป็นตัวแทน
สารสนเทศประเภทแคต็ ตาลอ็ ก ดรรชนี บรรณานกุ รม ฯลฯ ตามแบบดัง้ เดมิ ได้ดว้ ย กล่าวคือเป็นตัวแทน
ทไี่ ดจ้ ากการใช้ระบบการจัดหม่เู นอื้ หา/ความรู้ทเ่ี ป็นระบบสากล ใชห้ ลกั เกณฑก์ ารลงรายการแบบแองโกล
อเมริกันฯ และใช้รูปแบบการลงรายการที่เคร่ืองอ่านได้รูปแบบมาร์ค อย่างไรก็ตาม มีหลายความเห็นท่ี
กลา่ ววา่ ตวั แทนสารสนเทศตามแบบดง้ั เดมิ ไมเ่ หมาะกบั การจดั การสารสนเทศดจิ ทิ ลั บนเครอื ขา่ ย เนอ่ื งจาก
สารสนเทศดจิ ิทลั บนเครอื ข่ายมลี ักษณะท่มี คี วามเปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะตวั
เครื่องมือช่วยค้นประเภทบรรณานุกรมมีขอบเขตในการรวบรวมสารสนเทศเป็นบัญชีรายช่ือท่ีมี
รายละเอียดน้อยกว่าเครื่องมือฯ ประเภทรายการและดรรชนี และบรรณานุกรมแต่ละเรื่องอาจครอบคลุม
เพียงเน้ือหาเฉพาะเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง หรืออาจเป็นรายชื่องานรวมของผู้แต่งคนใดคนหนึ่ง หรือเป็นรายชื่อ
ชน้ิ งานทจ่ี ดั พมิ พ/์ รวบรวมโดยสำ� นกั พมิ พใ์ ดสำ� นกั พมิ พห์ นงึ่ ในชว่ งเวลาหนง่ึ เทา่ นน้ั เปน็ ตน้ จงึ จดั เปน็ การ
ท�ำดรรชนีในระดับลกึ สว่ นฐานขอ้ มูลบรรณานกุ รมครอบคลมุ การท�ำดรรชนีทั้งในระดับกว้างและลึก กลา่ ว
คือ ครอบคลมุ ขอ้ มลู บง่ ช้ขี องทรัพยากรสารสนเทศแหลง่ ใดแหลง่ หนึ่งทงั้ หมด และยังรวบรวม/ชแ้ี นะไปยัง
กลมุ่ ขอ้ มลู บง่ ชขี้ องสารสนเทศเฉพาะเรอื่ งใดเรอ่ื งหนงึ่ หรอื งานทจ่ี ดั พมิ พโ์ ดยสำ� นกั พมิ พใ์ ดสำ� นกั พมิ พห์ นงึ่
หรอื งานของผู้แต่งคนใดคนหนงึ่ ฯลฯ ก็ไดเ้ ช่นกนั
ในองค์การสารสนเทศโดยทั่วไป รายการหรือแค็ตตาล็อกเป็นเคร่ืองมือทางบรรณานุกรมท่ีได้รับ
ความนิยมจัดท�ำและน�ำมาใช้เป็นเคร่ืองมือในการค้นหาและเข้าถึงมวลทรัพยากรสารสนเทศส่วนใหญ่ของ
สถาบนั มาเปน็ เวลานานหลายทศวรรษ