Page 41 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 41

การวิเคราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศท้องถิ่น 6-31
            5.1.1	 การเลือกก�ำหนดและบันทึกกลุ่มของข้อมูลลักษณะทางกายภาพของสารสนเทศ
อนั ประกอบดว้ ย ชอื่ เรอ่ื งของงาน ชอื่ ผรู้ บั ผดิ ชอบงาน ซงึ่ สว่ นใหญค่ อื ชอ่ื ผแู้ ตง่ ฉบบั ครงั้ ทพี่ มิ พ์ ชอื่ สถานท่ี
และปที พ่ี มิ พ์ ชอ่ื สำ� นกั พมิ พ์ ลกั ษณะรปู รา่ ง ชอ่ื ชดุ (ถา้ ม)ี และสาระสงั เขป หมายเหตขุ อ้ ความทเ่ี หมาะสม
(เชน่ “มดี รรชนี” หรอื “ช่อื เร่อื งจากปก”) และหมายเลขมาตรฐานสากล (ถา้ ม)ี /ซึ่งในการกำ� หนดขอ้ มูล
ดงั กลา่ วนี้ ผทู้ ำ� รายการตอ้ งรจู้ กั และสามารถเลอื กขอ้ มลู จากแหลง่ ขอ้ มลู ของวสั ดสุ ารสนเทศแตล่ ะประเภทได้
            5.1.2	 การพิจารณาและตัดสินว่ารายการข้อมูลใดในกลุ่มข้อมูลระบุลักษณะทางกายภาพ
ของสารสนเทศ ควรน�ำมาลงรายการเป็นจุดเขา้ ถึง (access point) รายการใดควรเป็นรายการหลักและ
รายการใดควรเป็นรายการเพ่ิม
            5.1.3	 การก�ำหนดใช้ค�ำศัพท์ควบคุมท่ีเหมาะสมส�ำหรับชื่อและช่ือเร่ืองท่ีเป็นรายการหลัก
และรายการเพม่ิ
       5.2	 การลงรายการเนื้อเรื่อง (subject cataloging) เป็นการวิเคราะห์เน้ือหาสาระท่ีแท้จริงของ
ทรพั ยากรสารสนเทศ (subject analysis) เพอื่ กำ� หนดคำ� วลี ทเี่ รยี กวา่ “หวั เรอ่ื ง” และจดั ทำ� บทยอ่ ความ/
หรือสาระสังเขปเป็นตัวแทนเนื้อหาของสารสนเทศหรือเพื่อน�ำมาใช้ในรายการ ในการก�ำหนดหัวเรื่อง
องค์การสารสนเทศมักใช้ค�ำศัพท์ควบคุมท่ีได้มาจากบัญชีรายการหัวเรื่องที่ เชื่อถือได้ โดยทั่วไปถ้าเป็น
หวั เรอื่ งภาษาองั กฤษ องคก์ ารสารสนเทศขนาดใหญม่ กั ใชบ้ ญั ชรี ายการหวั เรอื่ งของหอสมดุ รฐั สภาอเมรกิ นั
Library of Congress Subject Headings: LCSH องค์การสารสนเทศขนาดเล็กมักใช้บัญชีรายการ
หัวเร่ืองของเซียรส์ (Sears List of Subject Headings) ส�ำหรบั หัวเรื่องภาษาไทยองค์การสารสนเทศ
โดยทวั่ ไปมกั ใชห้ นงั สอื หวั เรอ่ื งส�ำหรบั หนงั สอื ภาษาไทย ของคณะท�ำงานกลมุ่ วเิ คราะหส์ ารนเิ ทศ หอ้ งสมดุ
สถาบนั อดุ มศกึ ษา ทบวงมหาวทิ ยาลยั หรอื หนงั สอื หวั เรอ่ื งสำ� หรบั หนงั สอื ภาษาไทย ของสมาคมหอ้ งสมดุ
แห่งประเทศไทยฯ อย่างไรก็ตาม องค์การสารสนเทศแต่ละแห่งโดยเฉพาะห้องสมุดเฉพาะก็อาจก�ำหนด
บัญชีรายการหัวเร่ือง/ค�ำศัพท์เฉพาะด้านขึ้นใช้เองได้ด้วย เป็นการสร้างแฟ้มค�ำศัพท์ควบคุมที่ห้องสมุด
ก�ำหนดใช้ (local subject authority file)
       5.3	 การก�ำหนดหมวดหมู่ (classification) เปน็ การก�ำหนดสัญลกั ษณ์หมวดหมู่แทนเน้ือหาของ
ทรพั ยากรสารสนเทศเพอ่ื ใชใ้ นรายการ สญั ลกั ษณห์ มวดหมแู่ ทนเนอ้ื หาทใี่ ชใ้ นรายการกำ� หนดจากแบบแผน
หรือระบบการจัดหมวดหมู่ที่เป็นสากล ระบบการจัดหมวดหมู่ท่ีนิยมใช้ในห้องสมุดโดยทั่วไป เช่น ระบบ
หอสมุดรฐั สภาอเมรกิ นั (Library of Congress Classification: LCC) และระบบทศนยิ มดิวอี้ (Dewey
Decimal Classification: DCC) หอ้ งสมดุ เฉพาะทางการแพทยใ์ ชร้ ะบบหอสมดุ แพทยแ์ หง่ ชาติ (National
Library of Medicine Classification: NLM) เป็นต้น นอกจากสัญลกั ษณห์ มวดหมู่แทนเนอื้ หาที่ได้
จากแผนการจัดหมวดหมู่ใดหมวดหมู่หน่ึงแล้ว ยงั ตอ้ งผนวกเลขหนังสอื (book number) รวมเขา้ ไวก้ ับ
สญั ลกั ษณห์ มวดหมแู่ ทนเนอ้ื หาดว้ ย เพอื่ กำ� หนดเปน็ เลขเรยี กหนงั สอื ทใ่ี ชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ระบตุ ำ� แหนง่ ทอ่ี ยขู่ อง
ทรพั ยากรสารสนเทศหน่งึ ๆ ในองคก์ ารสารสนเทศ
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46