Page 36 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 36
6-26 การจดั การทรัพยากรสารสนเทศทอ้ งถ่นิ
3. ประเภทของตัวแทนสารสนเทศ
ประเภทของตวั แทนสารสนเทศในฐานะเปน็ เครอื่ งมอื ชว่ ยคน้ คนื และเขา้ ถงึ ทรพั ยากร สารสนเทศ
มหี ลายประเภท อาทิ แค็ตตาลอ็ ก บรรณานุกรม ดรรชนี สาระสงั เขป ฐานขอ้ มูลบรรณานุกรม ฯลฯ
3.1 แค็ตตาล็อก (catalog) เปน็ บญั ชรี ายการทรพั ยากรสารสนเทศขององคก์ ารสารสนเทศหนงึ่ ๆ
ท่ีแสดงรายการเพ่ือการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยู่ในองค์การสารสนเทศหน่ึง รวมท้ังองค์การ
สารสนเทศทเี่ ปน็ เครอื ขา่ ย แคต็ ตาลอ็ กทน่ี ยิ มใชใ้ นองคก์ ารสารสนเทศโดยทวั่ ไปในปจั จบุ นั เปน็ แคต็ ตาลอ็ ก
ในรปู ฐานขอ้ มลู ออนไลน์ หรอื ทรี่ จู้ กั กนั ดใี นชอ่ื เรยี กวา่ โอแพก (Online Public Access Catalog: OPAC)
ตัวแทนสารสนเทศแต่ละรายการจะมีข้อมูลประกอบไปด้วย ข้อมูลบรรยายลักษณะของสารสนเทศ
(description) จดุ เขา้ ถงึ รายการ (access point) และขอ้ มลู ชแ้ี หลง่ (location indicator) เพอ่ื การเขา้ ถงึ
แหลง่ ทอ่ี ยขู่ องสารสนเทศนนั้ การระบขุ อ้ มลู รายละเอยี ดตา่ งๆ ในรายการ ตอ้ งใชห้ ลกั เกณฑห์ รอื มาตรฐาน
สากลในการลงรายการทางบรรณานุกรมและการกำ� หนดจดุ เขา้ ถงึ รายการ เช่น ใชห้ ลักเกณฑเ์ อเอซีอาร์ทู
ส�ำหรับบรรยายทรัพยากรสารสนเทศในงานห้องสมุด หรือใช้ดับลินคอร์เมทาดาทาส�ำหรับบรรยาย
สารสนเทศดิจิทลั เปน็ ตน้
ภาพที่ 6.1 ตัวอย่างการแสดงผลระเบียนตัวแทนสารสนเทศประเภทหนังสือ ในแค็ตตาล็อกของ
ส�ำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช