Page 31 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 31

การวเิ คราะห์ทรพั ยากรสารสนเทศท้องถน่ิ 6-21
                ระบบทศนิยมสากล เป็นระบบจัดหมู่ท่ีใช้วิธีจ�ำแนกเน้ือหาท่ีมีอยู่ในสารสนเทศเร่ือง
ต่างๆ ออกเป็นส่วนๆ แล้วจึงนำ� เอาเน้ือหาแต่ละส่วนเหล่าน้ันมาสังเคราะห์เข้าเป็นเลขหมู่ท่ีประกอบด้วย
สญั ลกั ษณห์ ลายประเภท ไดแ้ ก่ เลขอารบกิ และเครอ่ื งหมายวรรคตอนตา่ งๆ จึงเรียกการจดั หมูส่ ารสนเทศ
ระบบทศนยิ มสากลว่า ระบบการจดั หมู่แบบแยกสังเคราะหห์ รือระบบฟาเซท็ (Facet)
                ตัวอย่าง หนังสือเรอื่ ง การจดั การสำ� นกั งานและวชิ าบัญชี จะไดเ้ ลขหมู่ 651-657
                ตัวอย่าง หนังสอื เรื่อง สำ� นักงานธุรกจิ การค้าขนาดใหญ่ จะไดเ้ ลขหมู่ 651: 338.962
                3)	 ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน การจัดหมู่ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติ
อเมรกิ นั (U.S. National of Medicine Classification) หรอื ที่เรยี กยอ่ ๆ วา่ ระบบ NLM เป็นระบบ
การจดั หมสู่ ารสนเทศทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์ท่เี กี่ยวข้องกบั การแพทย์ ระบบจดั หมนู่ ้มี ีหลักเกณฑ์
ส่วนใหญ่สอดคล้องกับระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใช้สัญลักษณ์แบบผสมประกอบด้วยอักษรโรมันและ
อารบกิ แตอ่ กั ษรทใ่ี ชแ้ ทนเนอ้ื หาหมวดหมู่ เปน็ อกั ษรทไี่ มใ่ ชใ้ นระบบหอสมดุ รฐั สภาอเมรกิ นั ไดแ้ ก่ QS-QZ,
W, และ WA-WZ การแบง่ หมวดหมภู่ ายในหมวดใหญแ่ ละหมวดยอ่ ยมคี วามสอดคลอ้ งกนั ทงั้ ทางทฤษฎี
และปฏิบัติ กล่าวคือ การแบ่งหมวดใหญ่ตามหลักกายวิภาคศาสตร์และมาตรฐานการก�ำหนดโรค ส่วน
การแบ่งย่อยนั้นจะแบง่ ตามวธิ เี ขียน การเรยี นการสอน สาเหตุแห่งการเกดิ โรค อวัยวะต่างๆ ของรา่ งกาย
และมีการจัดหมวดหมู่หนังสือท่ีพิมพ์ในศตวรรษท่ี 20 การจัดหมู่ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน
นยิ มใชจ้ ดั หมู่รว่ มกบั ระบบหอสมุดรฐั สภาอเมริกนั
                ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกันแบ่งหมวดใหญ่ ซ่ึงเป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาการ
แพทยศาสตร์ออกเป็น 2 ส่วน คือ การแพทย์พื้นฐาน (preclinical sciences) ใช้สัญลักษณ์ QS-QZ
และการแพทย์และวิชาทเ่ี กย่ี วขอ้ ง (Medicine and related subjects) ใช้สัญลกั ษณ์ W, WA-WZ
       3.2	 การจัดหมวดหมู่ตามค�ำศัพท์ควบคุม เป็นวิธีการจัดกลุ่มทรัพยากรสารสนเทศตามเนื้อหา
เพอ่ื การเขา้ ถงึ ดว้ ยคำ� ศพั ทค์ วบคมุ (controlled vocabulary) ซงึ่ คำ� ศพั ทค์ วบคมุ เปน็ บญั ชหี รอื ฐานขอ้ มลู
ที่บรรจุคำ� ศัพทห์ รือวลที ่ีกำ� หนดใช้แทนเนื้อหาหรอื แนวคิดหน่งึ ๆ ค�ำทีก่ �ำหนดนี้ใช้แทนคำ� หรือวลอี ื่นๆ ทม่ี ี
ความหมายเดียวกัน วิธีการก�ำหนดค�ำศัพท์แทนเน้ือหาของทรัพยากรสารสนเทศ ท�ำโดยการวิเคราะห์
เน้ือหา สรุปแนวคิดหลัก และก�ำหนดค�ำข้ึนใช้แทนเน้ือหาน้ัน โดยใช้ค�ำที่มาจากบัญชีค�ำศัพท์ควบคุม
คำ� ศัพทค์ วบคมุ แบ่งไดเ้ ป็น 3 กลมุ่ คือ บญั ชีคำ� หวั เร่ือง ธซี อรสั และออนโทโลยี
            3.2.1 	บัญชีค�ำหัวเร่ือง (subject headings list) หัวเรอ่ื ง คอื คำ� กลุม่ คำ� หรือวลี ตลอดจน
ชอื่ เฉพาะต่างๆ ท่ีไดก้ �ำหนดขน้ึ เพื่อใช้แทนเนอื้ หาของสารสนเทศ โดยปกตจิ ะเปน็ ค�ำสนั้ ๆ มีความหมาย
ชัดเจน ถา้ เปน็ กล่มุ ค�ำหรอื วลี ก็จะตอ้ งมีความกะทดั รดั หัวเรื่องเป็นศัพท์ควบคุมประเภทด้ังเดิมทใ่ี ชอ้ ยู่ใน
องค์การสารสนเทศมาช้านาน ข้อดีของการใช้หัวเรื่องคือ ประหยัดเน้ือท่ีในการจัดเก็บ เน่ืองจากเป็นค�ำ
กลุ่มค�ำ หรือวลีสั้นๆ เป็นค�ำศัพท์ที่เป็นท่ีรู้จักและยอมรับในชุมชนสาขาวิชาน้ันๆ หรือเป็นสากล และมี
แหลง่ อ้างอิงความหมายและการใช้
            3.2.2	 ธีซอรัส (thesaurus) หรือศัพท์สัมพันธ์ เป็นคลังศัพท์ควบคุมท่ีผู้สร้างได้ก�ำหนด
หรือแนะให้ใช้ค�ำศัพท์ใดค�ำศัพท์หน่ึง ส�ำหรับค�ำหรือกลุ่มค�ำที่มีรูปต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันและ
ประมวลคำ� ศพั ทท์ อี่ ยใู่ นกลมุ่ หรอื สกลุ เดยี วกนั ไวด้ ว้ ยกนั โดยมสี ญั ลกั ษณแ์ สดงความสมั พนั ธข์ องคำ� ในกลมุ่
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36