Page 29 - การจัดการทรัพยากรสารสนเทศท้องถิ่น
P. 29

การวิเคราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศทอ้ งถิ่น 6-19
ในการแบง่ ครง้ั แรกของระบบทศนิยมดิวอ้ี แบ่งวิชาออกเป็น 10 หมวดใหญๆ่ ดงั น้ี

000 ความรู้ทว่ั ไป                   500 วิทยาศาสตรบ์ ริสทุ ธ์ิ
100 ปรชั ญาและวชิ าทเี่ กีย่ วขอ้ ง  600 เทคโนโลยี (วทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต)์
200 ศาสนา                            700 ศิลปะ
300 สงั คมศาสตร์                     800 วรรณคดี
400 ภาษา                             900 ภมู ศิ าสตร์และประวตั ิศาสตร์ทัว่ ไป

                ท้ัง 10 หมวดทแี่ บ่งครง้ั แรก จะนำ� มาแบ่งครั้งท่ี 2 โดยแบ่งแตล่ ะหมวดใหญอ่ อกเป็น
10 หมวดย่อย ทำ� ใหไ้ ดร้ ายละเอยี ดเพ่มิ เปน็ 100 หมวดย่อย และจาก 100 หมวดย่อย แบง่ ครง้ั ที่ 3 เปน็
หมวดยอ่ ยละ 10 หมยู่ อ่ ยรวมเปน็ 1,000 หมยู่ อ่ ย (1,000 sections) และแตล่ ะหมยู่ อ่ ยเหลา่ นนั้ แบง่ ละเอยี ด
ออกไปเรอื่ ยๆ โดยใช้ เลขทศนิยมเข้าชว่ ย ท�ำใหม้ เี ลขหมู่หนงั สือเปน็ สญั ลักษณ์ แทนวชิ าตา่ งๆ มากมาย
จนต้องแยกรายละเอียดของการจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้ ออกเป็น 2 ตอน คือ ตารางเลขหมู่
(tables) และดรรชนีสัมพันธ์ (relative index) ซ่ึงตารางเลขหมู่หนังสือและดรรชนีสัมพันธ์นี้เป็น
เครอื่ งมอื สำ� หรบั อำ� นวยความสะดวกในการคน้ หาเลขหมขู่ องระบบทศนยิ มดวิ อไี้ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี ตอ่ มามรี ะบบ
การจัดหมู่ที่พัฒนาไปจากระบบทศนิยมดิวอ้ีเกิดข้ึน ซึ่งคือ ระบบทศนิยมสากล (Universal Decimal
Classification)

                2)	 ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน การจดั หมรู่ ะบบหอสมดุ รฐั สภาอเมรกิ นั (Library
of Congress Classification) หรอื ทวั่ ไปเรียกย่อๆ ว่า ระบบ LC เป็นระบบจัดหมูส่ ารสนเทศท่ัวๆ ไป
(general classification) ซ่ึงเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในองค์การสารสนเทศของมหาวิทยาลัย
วทิ ยาลยั และเฉพาะสาขาวชิ าทง้ั ในสหรฐั อเมรกิ าและแคนาดา ทงั้ นี้ กเ็ พราะระบบ LC นน้ั เหมาะสำ� หรบั
องค์การสารสนเทศขนาดใหญ่ที่มีวัสดุสารสนเทศจ�ำนวนมากเป็นแสนๆ ขึ้นไป หรือส�ำหรับองค์การ
สารสนเทศเฉพาะในสาขาวชิ าใดวิชาหนง่ึ ที่มวี สั ดสุ ารสนเทศ เป็นจำ� นวนมาก

                ระบบ LC เปน็ ระบบทม่ี ขี อบเขตกวา้ งขวาง สามารถครอบคลมุ เนอ้ื หาสารสนเทศทกุ
หมวดหมู่วชิ า ต้ังแต่เนือ้ เรอื่ งทวั่ ๆ ไปจนถึงเนอื้ เร่ืองเฉพาะเจาะจงลงไป การแบง่ หมวดหมูข่ องระบบ LC
เป็นไปตามหลักปฏิบัติงาน (practical system) กล่าวคือ เป็นระบบจัดหมู่สารสนเทศท่ีเกิดข้ึนจากการ
ปฏบิ ตั จิ รงิ ดว้ ยการก�ำหนดเลขหมสู่ ารสนเทศทม่ี อี ยจู่ รงิ ๆ ในหอสมดุ รฐั สภาอเมรกิ นั ดงั นนั้ การแบง่ หมวด
หนังสือจากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อยแต่ละหมวดจึงไม่เท่ากัน เป็นการแบ่งหมวดหมู่สารสนเทศมากน้อย
ตามความเหมาะสมของสารสนเทศในแตล่ ะหมวดหมวู่ ชิ า โดยใชอ้ กั ษรโรมนั และตวั เลขเปน็ สญั ลกั ษณแ์ บง่
สรรพวิชาการออกเป็น 21 หมวดใหญ่ คือ
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34