Page 17 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 17
แนวคดิ การวจิ ัยทางสารสนเทศศาสตร์ 2-7
การวจิ ยั เรอ่ื ง การจดั บรกิ ารอา้ งองิ เสมอื นในหอ้ งสมดุ มหาวทิ ยาลยั (รวกิ ร พมิ พขนั ธ,์ 2555) ศกึ ษา
การจดั บรกิ ารอา้ งอิงเสมือนของห้องสมดุ มหาวทิ ยาลยั ในด้านวัตถุประสงค์ การจดั การ และการใหบ้ ริการ
รวมถงึ ปัญหาในการจดั บรกิ ารอ้างองิ เสมอื นของห้องสมุดมหาวทิ ยาลยั
การวจิ ยั เรอ่ื ง การจดั การวารสารอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ เี่ ปดิ ใหเ้ ขา้ ถงึ ไดอ้ ยา่ งเสรใี นหอ้ งสมดุ มหาวทิ ยาลยั
(ลมัย ประคอนศรี, 2557) ศกึ ษาการจดั การวารสารอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ีเ่ ปิดให้เข้าถงึ ได้อย่างเสรีในห้องสมดุ
มหาวทิ ยาลยั ในดา้ นนโยบาย การจดั หา การทำ� รายการ และการบรกิ าร รวมถงึ ปญั หาในการจดั การวารสาร
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ทเ่ี ปดิ ให้เขา้ ถงึ ได้อยา่ งเสรี
การวิจัยเร่ือง ความคาดหวังของผู้บริหารห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่อทักษะของบรรณารักษ์เร่ือง
เทคโนโลยีเว็บ 2.0 ที่ใช้ส�ำหรับงานบริการสารสนเทศ (อลิษา สรเดช, 2560) ศึกษาความคาดหวังของ
ผู้บริหารห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่อทักษะของบรรณารักษ์เรื่องเทคโนโลยีเว็บ 2.0 ที่ใช้ส�ำหรับงานบริการ
สารสนเทศ ไดแ้ ก่ เทคโนโลยกี ารสง่ ขอ้ ความโตต้ อบแบบทนั ที เทคโนโลยเี ครอื ขา่ ยสงั คม เทคโนโลยบี ลอ็ ก
เทคโนโลยีไมโครบล็อก เทคโนโลยีวิกิ และเทคโนโลยีอารเ์ อสเอส
ข้อสังเกต การวจิ ยั ทางสารสนเทศศาสตรม์ พี ฒั นาการทเี่ ปลย่ี นแปลงอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั จากการวจิ ยั
ในระยะแรกที่เน้นบทบาทหน้าที่ขององค์การสารสนเทศและผู้ปฏิบัติงาน มาเป็นการวิจัยเพ่ือการพัฒนา
และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั งิ านและการบรกิ ารสารสนเทศ และ
ในขณะเดยี วกนั ก็ศกึ ษาผลกระทบอันเกดิ จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศดว้ ย
2. การวิจัยทางสารสนเทศศาสตร์มีความเป็นสหวิทยาการ
การวจิ ยั ในลกั ษณะสหวทิ ยาการมงุ่ นำ� ความรจู้ ากศาสตรต์ า่ งๆ มาประยกุ ต์ สารสนเทศศาสตรเ์ ปน็
ศาสตร์หน่ึงที่มีความเป็นสหวิทยาการที่เก่ียวข้องกับศาสตร์อ่ืน โดยการน�ำความรู้จากหลายสาขาวิชามา
ผนวกเข้าด้วยกัน และน�ำมาประยุกต์เพ่ือการด�ำเนินการด้านการศึกษาและวิจัย ศาสตร์ที่สัมพันธ์กับ
สารสนเทศศาสตรอ์ ยา่ งใกลช้ ดิ เชน่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ การสอ่ื สาร ภาษาศาสตร์ จติ วทิ ยา การบรหิ าร
เศรษฐศาสตร์ เป็นต้น ศาสตร์เหล่านี้มีสารสนเทศศาสตร์เป็นแกนร่วม ดังน้ัน ความเป็นสหวิทยาการจึง
ปรากฏเด่นชัด ซึ่งหมายความว่า สารสนเทศศาสตร์จะเติบโตแต่เพียงสาขาเดียวไม่ได้ แม้จะมีการวิจัย
เพ่ือสร้างองค์ความรู้และทฤษฎีทางสารสนเทศศาสตร์แล้วก็ตาม วิชาชีพสารสนเทศศาสตร์ก็ต้องอาศัย
ความสนบั สนนุ และความสมั พนั ธก์ บั ศาสตรส์ าขาอน่ื ๆ องคค์ วามรแู้ ละแนวทางปฏบิ ตั ทิ างสารสนเทศศาสตร์
และวิชาชีพจึงจะกวา้ งขวาง
2.1 เทคโนโลยีสารสนเทศ เกีย่ วข้องกบั การจัดเก็บ ประมวลผล จัดท�ำฐานขอ้ มูล และการคน้ คนื
สารสนเทศ การวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การนำ� คอมพวิ เตอรม์ าใชจ้ งึ มคี วามเกยี่ วโยงกบั การใชป้ ระโยชน์ การใช้
ฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วร์ ฐานขอ้ มลู การพฒั นาระบบสารสนเทศ และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการจดั เกบ็
และคน้ คนื สารสนเทศ สารสนเทศศาสตรม์ คี วามเกยี่ วขอ้ งโดยตรงกบั การนำ� คอมพวิ เตอรม์ าใชใ้ นการพฒั นา
องค์การสารสนเทศ ดังตัวอย่างงานวิจัยต่อไปนี้