Page 18 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 18
2-8 การวจิ ยั เบอ้ื งต้นทางสารสนเทศศาสตร์
การวิจัยเรื่อง การพัฒนาตัวแบบพิพิธภัณฑ์เสมือนตามบทบาทของมหาวิทยาลัยราชภัฏในฐานะ
สถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น (ชลลดา พงศ์พัฒนโยธิน, 2559) ผู้วิจัยได้พัฒนาและจัดท�ำ
พพิ ธิ ภณั ฑเ์ สมอื นตามบทบาทมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอื่ การพฒั นาทอ้ งถน่ิ จากตวั แบบทพ่ี ฒั นาขน้ึ โดยอาศยั
ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านตัวแบบ ด้านพิพิธภัณฑ์วิทยา ด้านสารสนเทศ ด้านการวิจัย
ดา้ นการพฒั นาทอ้ งถนิ่ และดา้ นเทคโนโลยเี สมอื น เปน็ ผใู้ หข้ อ้ มลู และประเมนิ คณุ ภาพตวั แบบพพิ ธิ ภณั ฑ-์
เสมอื น ข้อสงั เกต การวิจยั นีม้ ีความผสมผสานและเกี่ยวโยงกนั หลายศาสตร์ อาทิ เทคโนโลยีสารสนเทศ
สารสนเทศศาสตร์ การจดั การสารสนเทศท้องถ่ิน พิพิธภณั ฑว์ ิทยา
การวจิ ยั เรอื่ ง การพฒั นาเวบ็ ไซตแ์ ละฐานขอ้ มลู โบราณวตั ถ:ุ กรณศี กึ ษาพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ
บ้านเชียง (มะลิวรรณ ระหูภา, 2554) ผู้วิจัยได้พัฒนาเว็บไซต์และระบบฐานข้อมูลโบราณวัตถุของ
พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติบา้ นเชยี ง เพ่อื ใชเ้ ปน็ แหล่งสารสนเทศในการเผยแพรข่ ้อมลู รายละเอยี ดเก่ียวกบั
พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาตบิ า้ นเชยี ง สว่ นฐานขอ้ มลู ทพี่ ฒั นาเปน็ ระบบทผ่ี ใู้ ชส้ ามารถบนั ทกึ คน้ หา และออก
รายงานขอ้ มลู เกยี่ วกบั โบราณวตั ถบุ า้ นเชยี ง ข้อสังเกต การวจิ ยั นมี้ คี วามผสมผสานและเกยี่ วโยงกนั หลาย
ศาสตร์ อาทิ เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศศาสตร์ พิพิธภณั ฑว์ ิทยา โบราณคดี
การวจิ ยั เรอ่ื ง การพฒั นาระบบจดั เกบ็ และคน้ คนื สารสนเทศสาขาบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์
โดยการใชศ้ พั ทค์ วบคมุ ทมี่ โี ครงสรา้ งแบบธซิ อรสั (ภทั ธริ า สวุ รรณโค, 2553) ผวู้ จิ ยั ไดพ้ ฒั นาระบบจดั เกบ็
และคน้ คนื สารสนเทศสาขาบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตรโ์ ดยใชศ้ พั ทค์ วบคมุ ทมี่ โี ครงสรา้ งแบบ
ธิซอรัส และเพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงานและผู้ใช้บริการท่ีมีต่อระบบที่พัฒนาขึ้น ข้อสังเกต
การวิจยั นมี้ ีความผสมผสานและเกยี่ วโยงกันหลายศาสตร์ อาทิ เทคโนโลยีสารสนเทศ บรรณารักษศาสตร์
สารสนเทศศาสตร์ ภาษาศาสตร์
2.2 การบริหาร สารสนเทศศาสตร์มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับการบริหาร การด�ำเนินงานใน
วชิ าชพี สารสนเทศศาสตรต์ อ้ งอาศยั หลกั การบรหิ ารงานสำ� นกั งาน งานบคุ คล งบประมาณ และการจดั การ
ด้านต่างๆ เช่น พสั ดุ อาคารสถานที่ เปน็ ตน้ นอกจากน้ี ยงั มคี วามเกีย่ วขอ้ งกับการตลาดและการบริการ
สารสนเทศ ผลิตภณั ฑส์ ารสนเทศ การบริหารลูกคา้ สัมพนั ธ์ ดงั ตัวอยา่ งงานวจิ ยั ตอ่ ไปน้ี
การวจิ ัยเรอ่ื ง ภาพลกั ษณ์ของห้องสมุดยุคใหม่: การประยกุ ตใ์ ช้กลยุทธ์การตลาดเพอื่ การบริหาร
คณุ ภาพในหอ้ งสมดุ คณะรฐั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั (นฤมล กจิ ไพศาลรตั นา, 2552) เปน็ การประยกุ ต์
กลยทุ ธก์ ารตลาดเพ่อื ปรบั ปรุง พัฒนา และสรา้ งสรรคแ์ นวทางการใหบ้ รกิ าร เพ่อื ตอบสนองความต้องการ
ของผู้ใช้ โดยการศกึ ษาปัจจยั ทเี่ ข้าใชห้ ้องสมุด ประเดน็ ท่คี วรปรับปรุง ประเภทของบริการ ความพงึ พอใจ
ในภาพรวม รวมถงึ การศกึ ษาเปรยี บเทยี บกบั หอ้ งสมดุ คณะทางสงั คมศาสตรข์ องจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
และมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ข้อสังเกต การวิจยั น้มี ีความผสมผสานและเกีย่ วโยงกันหลายศาสตร์ อาทิ
การตลาด การบริหาร บรรณารกั ษศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์
การวิจัยเรื่อง ความคิดเห็นของผู้ใช้และผู้ให้บริการต่อการใช้ส่วนประสมการตลาดในการบริการ
ของหอสมดุ แหง่ ชาติ (ยุวเรศ อิทธชิ ยั วฒั นา, 2560) ศกึ ษาความคดิ เห็นของผใู้ ชแ้ ละผู้ใหบ้ ริการต่อการใช้
ส่วนประสมการตลาดในการบริการของหอสมุดแห่งชาติ เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อ
การใช้ส่วนประสมการตลาดในการบริการของหอสมุดแห่งชาติกับตัวแปร เพศ สถานภาพบุคคล และ