Page 19 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 19

แนวคดิ การวิจัยทางสารสนเทศศาสตร์ 2-9
เขตทพ่ี กั อาศยั   และเปรยี บเทยี บความคดิ เหน็ ของผใู้ หบ้ รกิ ารตอ่ การใชส้ ว่ นประสมการตลาดในการบรกิ าร
ของหอสมดุ แหง่ ชาติ ตาม  เพศ  ตำ� แหนง่ งาน  และประสบการณก์ ารทำ� งาน ข้อสังเกต การวจิ ยั นมี้ คี วาม
ผสมผสานและเก่ียวโยงกันหลายศาสตร์ อาทิ การตลาด บรรณารักษศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์

       การวิจัยเร่ือง การพัฒนากลยุทธ์การบริการสารสนเทศของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ (วิภานันท์
ล�ำงาม, 2560) ท่ีศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของผู้ใช้บริการส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ วิเคราะห์
สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกในการบริการ และพัฒนากลยุทธ์การบริการสารสนเทศของส�ำนัก
หอสมุดแห่งชาติ ข้อสังเกต การวิจัยน้ีมีความผสมผสานและเก่ียวโยงกันหลายศาสตร์ อาทิ การบริหาร
บรรณารักษศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์

       2.3 ภาษาศาสตร์ เป็นศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกับสารสนเทศศาสตร์ในมุมมองของการจัดท�ำระบบ
การจดั เกบ็ และคน้ คนื สารสนเทศ ซง่ึ ตอ้ งอาศยั หลกั การวเิ คราะหเ์ นอ้ื หา หลกั การใชไ้ วยากรณแ์ ละโครงสรา้ ง
ภาษาเพื่อการก�ำหนดค�ำท่ีใช้แทนเนื้อหาสาระ และการก�ำหนดค�ำค้นท่ีใช้ในระบบการจัดเก็บและค้นคืน
สารสนเทศให้เป็นมาตรฐาน ซึ่งเป็นเครื่องมือช่วยค้นที่ส�ำคัญที่เอ้ือต่อการเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ
ปจั จุบันมีงานวจิ ัยทท่ี �ำการศึกษาค้นควา้ เก่ียวกบั หลักการเหลา่ น้ี ดังตัวอย่างงานวจิ ยั ตอ่ ไปนี้

       การวิจัยเรื่อง การพัฒนาอรรถาภิธานสารสนเทศศาสตร์ด้านการบริการสารสนเทศ (กฤติกา
จวิ าลกั ษณ,์ 2562) ผวู้ จิ ยั ไดพ้ ฒั นาอรรถาภธิ านสารสนเทศศาสตรด์ า้ นการบรกิ ารสารสนเทศ โดยรวบรวม
ค�ำศัพท์ทางด้านการบริการสารสนเทศจากต�ำราภาษาไทย วารสารภาษาไทยท่ีน�ำเสนอบทความทาง
วชิ าการ และหนงั สืออา้ งองิ ด้านสารสนเทศศาสตร์ น�ำมาประมวล คดั สรรคำ� พจิ ารณา วิเคราะห์คำ� ศัพท์
ท่ีรวบรวม จัดกลุ่มค�ำ และจัดล�ำดับชั้นของค�ำศัพท์ไทย-อังกฤษ ตามลักษณะโครงสร้างการสร้าง
อรรถาภธิ าน ข้อสังเกต การวจิ ยั นมี้ คี วามผสมผสานและเกย่ี วโยงกนั หลายศาสตร์ อาทิ บรรณารกั ษศาสตร์
สารสนเทศศาสตร์ ภาษาศาสตร์

       การวิจัยเร่ือง การก�ำหนดหัวเรื่องภาษาไทยด้านวัฒนธรรมล้านนา (ณภัทร ฉิมพาลี, ทัศนา
สลัดยะนันท์, และวรรษพร อารยะพันธ์, 2561) ศึกษารวบรวมค�ำศัพท์ด้านวัฒนธรรมล้านนา และจัดท�ำ
บัญชีหัวเรื่องภาษาไทยด้านวัฒนธรรมล้านนา โดยผู้วิจัยได้รวบรวมค�ำศัพท์จากหนังสือที่มีเน้ือหาด้าน
วฒั นธรรมลา้ นนา และวเิ คราะหค์ ำ� ศพั ทโ์ ดยตรวจสอบคำ� ศพั ทก์ บั หนงั สอื หวั เรอื่ งภาษาไทยของคณะทำ� งาน
กลมุ่ งานวเิ คราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศหอ้ งสมดุ สถาบนั อดุ มศกึ ษา รวมถงึ การกำ� หนดหวั เรอื่ งใหม่ และนำ�
หัวเรอื่ งทีไ่ ดม้ าจัดเรยี งตามลำ� ดับตวั อักษรและทำ� รายการโยง ข้อสังเกต การวจิ ยั นม้ี คี วามผสมผสานและ
เกย่ี วโยงกบั หลายศาสตร์ อาทิ บรรณารักษศาสตร์ ภาษาศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์ วัฒนธรรมท้องถ่นิ

       การวิจัยเร่อื ง การพัฒนาออนโทโลยเี ชงิ ความหมายของความรู้เก่ียวกับกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ (จฑุ าทพิ ย์
ไชยก�ำบัง และกุลธดิ า ทว้ มสขุ , 2560) ผวู้ จิ ยั ไดพ้ ัฒนาออนโทโลยีเชิงความหมายของความร้เู ก่ียวกับกลุ่ม
ชาติพันธุ์ในประเทศไทย โดยผู้วิจัยได้รวบรวมค�ำศัพท์ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาจากเอกสาร ฐานข้อมูล
เวบ็ เพจ และสมั ภาษณผ์ เู้ ชยี่ วชาญ หลงั จากนนั้ จงึ กำ� หนดคลาสหรอื แนวคดิ หลกั คลาสยอ่ ย และคณุ ลกั ษณะ
ของคณุ สมบตั ิ และสรา้ งคำ� ศพั ทแ์ ตล่ ะคลาส ข้อสังเกต การวจิ ยั นม้ี คี วามผสมผสานและเกยี่ วโยงกนั หลาย
ศาสตร์ อาทิ สารสนเทศศาสตร์ การจดั การความรู้ ภาษาศาสตร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ชาติพนั ธุ์
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24