Page 24 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 24
2-14 การวจิ ยั เบอื้ งต้นทางสารสนเทศศาสตร์
จิตวิทยา เปน็ ศาสตรท์ วี่ า่ ดว้ ยการศกึ ษาเกย่ี วกบั จติ ใจ กระบวนความคดิ และพฤตกิ รรมของ
มนุษย์ การบริการสารสนเทศขององค์การสารสนเทศมีความเก่ียวข้องโดยตรงกับผู้ใช้และผู้ให้บริการ
การศึกษาพฤติกรรมผู้ใช้ การจัดบริการสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพต้องอาศัยหลักจิตวิทยาและ
มนุษยสัมพันธ์ในการทำ� งาน หลักการท�ำงานรว่ มกับผอู้ น่ื การติดตอ่ ประสานงาน และการบริการตา่ งๆ
นิเทศศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับศิลปะในการสื่อสาร การส่ือสารมีความส�ำคัญต่อ
องค์การสารสนเทศ ในด้านการจัดองค์การสารสนเทศ การเป็นผู้น�ำ และการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพ
เคร่ืองมือในการบริหารและสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน ความเช่ือถือศรัทธาในองค์การและขวัญก�ำลังใจ
ในการทำ� งาน และความรว่ มมอื ประสานงานกันระหวา่ งองค์การ
เรี่องท่ี 2.1.2
ขอบเขตของการวิจัยทางสารสนเทศศาสตร์
สารสนเทศศาสตรเ์ ปน็ สหวทิ ยาการทมี่ พี น้ื ฐานความรจู้ ากหลายสาขาวชิ า และเกย่ี วขอ้ งกบั การวเิ คราะห์
จัดเก็บ รวบรวม จัดระบบ เผยแพร่ และสงวนรักษาสารสนเทศ รวมถึงการศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศ
หัวข้อหรือเรื่องท่ีท�ำวิจัยจึงครอบคลุมกว้างขวาง สารสนเทศศาสตร์มีความสัมพันธ์อย่างมากกับ
บรรณารักษศาสตร์ มีการใช้ศัพท์เรียกโดยรวมว่า “บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์” ทั้งยังมี
ความเกยี่ วขอ้ งกบั สาขาวชิ าอน่ื ๆ เชน่ วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ วทิ ยาการขอ้ มลู (data science) สงั คมวทิ ยา
จิตวิทยา เป็นต้น ท�ำให้มีประเด็นการวิจัยใหม่เกิดขึ้นตามพัฒนาการของสาขาวิชา จากการศึกษาแผนท่ี
ความรู้ทางสารสนเทศศาสตร์ (Zins, 2007) การวิเคราะห์เนื้อหาการวิจัยทางบรรณารักษศาสตร์และ
สารสนเทศศาสตร์ (Aharony, 2012; Tuomaala, Jarvelin & Vakkari, 2014) ตลอดจนแนวคดิ พื้นฐาน
ทางสารสนเทศศาสตร์ (Bawden & Robinson, 2012; Rubin, 2016) สามารถประมวลและจดั กลมุ่ ขอบเขต
เนื้อหาการวิจยั ได้เปน็ 6 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแนวคิดพืน้ ฐานทางสารสนเทศศาสตร์ กลุ่มการจัดการองคก์ าร
สารสนเทศ กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มการจัดการข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ กลุ่ม
พฤตกิ รรมสารสนเทศ และกลุ่มวธิ ีวิทยาทางสารสนเทศศาสตร์ ดงั ภาพประกอบที่ 2.1