Page 25 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 25

แนวคิดการวจิ ัยทางสารสนเทศศาสตร์ 2-15

          กลมุ วธิ ีวทิ ยา                              กลุมแนวคิดพนื้ ฐาน                         กลุมการจดั การองคการสารสนเทศ
      ทางสารสนเทศศาสตร                                ทางสารสนเทศศาสตร
                                                                                                   • การวางแผนและการวางแผนกลยทุ ธ
• การวิเคราะหเนอ้ื หา                        • ประวตั ิและพฒั นาการของสารสนเทศศาสตร              • การจัดการงานสำนกั งาน
• การวเิ คราะหก ารอางองิ                                                                         • การจัดการการเงนิ งบประมาณ และพสั ดุ
• การวิเคราะหส่งิ พมิ พเชงิ ปริมาณ            หองสมุด ศูนยส ารสนเทศ พพิ ธิ ภณั ฑ หอศลิ ป     • การจัดการอาคารสถานที่
                                                สถาบันการศกึ ษาดานสารสนเทศศาสตร                  • การบรหิ ารงานบุคลากร
  หรอื ดชั นีวรรณกรรม                                                                              • ภาวะผนู ำ
                                              • การศึกษาทางสารสนเทศศาสตร                          • การจดั การความเสี่ยง
• การวิเคราะหสารสนเทศเชิงปริมาณ              • ทรัพยากรสารสนเทศและทรัพยากรความรู                 • การจัดการการเปลี่ยนแปลง
• การวเิ คราะหผ ลงานทางวิทยาศาสตร           • สังคมสารสนเทศ                                      • การส่อื สารประชาสมั พันธ
                                              • สังคมออนไลน                                       • การตลาดและการจดั การลูกคา สมั พันธ
  เชงิ ปริมาณ                                 • จริยธรรมสารสนเทศและจรรยาบรรณ                       • การจดั การบรกิ ารสารสนเทศ
                                              • ทรพั ยสินทางปญ ญา                                • การจัดการคุณภาพ
• การวเิ คราะหเ ว็บไซตเชิงปริมาณ หรือ       • นโยบายสารสนเทศ                                     • องคการแหงการเรยี นรู
                                              • การรูส ารสนเทศ/การรูเทาทันสื่อ/การรดู จิ ิทัล
  เวบ็ โอเมทรกิ ซ                                                                                       กลุมเทคโนโลยีสารสนเทศ

• การวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ                                                                     • เครือขายคอมพิวเตอร และการสอื่ สาร
                                                                                                   • ระบบสารสนเทศ
  อเิ ล็กทรอนิกสบ นอินเทอรเ น็ต                                                                  • เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั
  เชิงปริมาณ                                                                                       • ระบบคนคืนสารสนเทศ
                                                                                                   • ปฏิสัมพนั ธร ะหวา งมนุษยกบั คอมพิวเตอร
       กลุม พฤติกรรมสารสนเทศ                        ขอบเขตการวจิ ยั
                                                  ทางสารสนเทศศาสตร
• ความตองการ และการแสวงหาสารสนเทศ
• การเขาถงึ สารสนเทศ                         กลมุ การจัดการขอ มูล สารสนเทศ
• การใชสารสนเทศ                                   และการจัดการความรู
• ความสามารถใชไ ดข องสารสนเทศ
                                              • การจัดการเพอื่ การวิเคราะหขอ มูล
  บนเว็บ (web usability)                      • การวเิ คราะหสารสนเทศ
                                              • การสรา งตวั แทนความรู
• ปฏิสัมพันธระหวา งมนษุ ยก บั สารสนเทศ     • เคร่อื งมือคน หาสารสนเทศ
• การสมั ภาษณผ ใู ช (reference interview)
• ความพงึ พอใจของผูใ ช

                        ภาพท่ี 2.1 ขอบเขตการวิจัยทางสารสนเทศศาสตร์

1. 	 กลุ่มแนวคิดพ้ืนฐานทางสารสนเทศศาสตร์

       กลุ่มแนวคิดพ้ืนฐานทางสารสนเทศศาสตร์ครอบคลุมเน้ือหาท่ีเก่ียวกับประวัติและพัฒนาการของ
สารสนเทศศาสตร์ การศึกษาทางสารสนเทศศาสตร์ ทรัพยากรสารสนเทศและทรัพยากรความรู้ สังคม
สารสนเทศ สงั คมออนไลน์ จรยิ ธรรมสารสนเทศและจรรยาบรรณ ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา นโยบายสารสนเทศ
การร้สู ารสนเทศ การรู้เท่าทันสอ่ื และการรูด้ ิจิทัล ดงั น้ี

       1.1		ประวัติและพัฒนาการของสารสนเทศศาสตร์ ห้องสมุด ศูนย์สารสนเทศ พิพิธภัณฑ์
หอศลิ ป์ รวมท้งั สถาบันการศกึ ษาดา้ นสารสนเทศศาสตร์

       1.2		การศกึ ษาทางสารสนเทศศาสตร์ ครอบคลมุ เนอ้ื หาเกยี่ วกบั การศกึ ษาทเ่ี ปน็ ทางการในสถาบนั
การศกึ ษาทางบรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารสนเทศศาสตร์ และการศึกษาตอ่ เนือ่ งของนักวชิ าชีพสารสนเทศ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30