Page 29 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 29

แนวคิดการวิจยั ทางสารสนเทศศาสตร์ 2-19
            3.3.2 การสงวนรักษาดิจิทัล (digital preservation) เป็นกระบวนการในการจัดเก็บ
ทรพั ยากรสารสนเทศในรปู แบบดิจทิ ัลใหป้ ลอดภยั และคงอยอู่ ยา่ งถาวร
            3.3.3	 โมบายเทคโนโลยี (mobile technology) เปน็ เทคโนโลยที ใี่ ชใ้ นอปุ กรณท์ เ่ี คลอื่ นทไี่ ด้
เชน่ คอมพวิ เตอร์พกพา แทบ็ เล็ต โทรศพั ท์มือถอื เปน็ ต้น
            3.3.4	 เวบ็ ไซต์ (website) เปน็ ทร่ี วบรวมทรพั ยากรสารสนเทศบนอนิ เทอรเ์ นต็ ประกอบดว้ ย
เวบ็ เพจ (web page) หลายหนา้ ทเี่ ชื่อมโยงกันผา่ นไฮเปอรล์ ิงก์ (hyperlink)
            3.3.5	 ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence - AI) เปน็ ระบบทเี่ ลียนแบบมนุษย์ คือ
ทำ� ใหค้ อมพวิ เตอรส์ ามารถปฏบิ ตั ไิ ดด้ ว้ ยประสทิ ธภิ าพเทยี บเทา่ มนษุ ย์ มคี วามสามารถในการทำ� ความเขา้ ใจ
เรียนรู้ และแก้ไขปัญหาได้
       3.4 ระบบค้นคืนสารสนเทศ (information retrieval system) เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่
ชว่ ยทำ� ใหผ้ ใู้ ชไ้ ดท้ รพั ยากรสารสนเทศทต่ี อ้ งการ หนา้ ทข่ี องระบบ ประกอบดว้ ย การจดั หา จดั เกบ็ วเิ คราะห์
นำ� เสนอสารสนเทศ และสรา้ งวธิ กี ารคน้ หาสารสนเทศเพอ่ื นำ� สง่ สารสนเทศสู่ผู้ใช้
            3.4.1 เทคโนโลยีการจัดเก็บสารสนเทศ (storage technology) ใชใ้ นการจัดเก็บและสำ� รอง
ขอ้ มลู สารสนเทศ อาจจะเปน็ การจดั เกบ็ ทางกายภาพ คอื ใชอ้ ปุ กรณ์ เชน่ ฮารด์ ดสิ ก์ หรอื เปน็ การเชอ่ื มโยง
กับเครอื ข่าย หรอื การจัดเกบ็ บนคลาวด์ (cloud storage)	
            3.4.2 เทคโนโลยีการสืบค้นสารสนเทศ (search technology) พัฒนาข้ึนเพื่อช่วยให้
การสืบค้นมีประสิทธิภาพและตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้มากท่ีสุด สามารถรองรับการสืบค้น
เอกสารดว้ ยวธิ ีต่างๆ เชน่ การสืบคน้ แบบเน้อื หาเต็ม (full-text search) และการสบื คน้ เชิงความหมาย
แบบออนโทโลยี (ontology) เป็นต้น
       3.5 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction - HCI)
เก่ียวข้องกบั การศึกษา ออกแบบ และสร้างระบบคอมพิวเตอร์ ท่ีเน้นการเช่อื มประสาน (interface) และ
ปฏิสัมพันธ์กับมนุษย์

4.	 กลุ่มการจัดการข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้

       กลุ่มการจดั การข้อมูล สารสนเทศ และการจดั การความรู้ แบง่ เนอื้ หาออกเป็น 4 กลุ่มยอ่ ย ได้แก่
การจัดการเพ่ือการวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวิเคราะห์สารสนเทศ การสร้างตวั แทนความรู้ และเคร่อื งมอื คน้ หา
สารสนเทศ แต่ละกลุ่มครอบคลุมเน้ือหา ดังน้ี

       4.1 การจัดการเพ่ือการวิเคราะห์ข้อมูล (data analytics) เป็นการใช้ข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มา
วิเคราะหร์ ่วมกนั เพอ่ื ชว่ ยในการด�ำเนนิ การขององค์การ ประกอบด้วย

            4.1.1 ข้อมูลขนาดใหญ่ (big data) คือ ข้อมูลท่ีมีขนาดใหญ่มากที่อาจเป็นทั้งข้อมูลที่มี
โครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง เช่น รูปภาพ วีดิทัศน์ หรือข้อมลู ท่อี ยใู่ นสอ่ื สังคม เปน็ ตน้ ขอ้ มูลลักษณะน้ี
ยงั ตอ้ งน�ำมาวเิ คราะห์ ประมวลผล และนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ คณุ ลักษณะของข้อมูลขนาดใหญ่ประกอบดว้ ย
มีจ�ำนวนมากมายมหาศาล (volume) มีความหลากหลาย (variety) มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
(velocity) และยงั ไม่เป็นข้อมลู สมบรู ณ์ทสี่ ามารถน�ำมาใชป้ ระโยชน์ได้ (veracity)
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34