Page 30 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 30
2-20 การวิจยั เบอื้ งตน้ ทางสารสนเทศศาสตร์
4.1.2 การท�ำเหมืองข้อมูล (data mining) คือ กระบวนการที่กระท�ำกบั ขอ้ มูลจำ� นวนมาก
เพอ่ื คน้ หารปู แบบและความสมั พนั ธท์ ซ่ี อ่ นอยใู่ นชดุ ขอ้ มลู เปน็ การสกดั หรอื แยกขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ประโยชนจ์ าก
ข้อมลู ขนาดใหญ่หรอื ฐานขอ้ มลู เพ่อื นำ� มาใชใ้ นการวางแผนและตัดสนิ ใจในองคก์ าร
4.1.3 การท�ำแบบจ�ำลองข้อมูล (data modeling) คือ การจดั ท�ำโครงสร้างข้อมูลและความ
สมั พันธร์ ะหวา่ งขอ้ มลู ใหผ้ ู้ใช้เห็นและเข้าใจ
4.2 การวิเคราะห์สารสนเทศ (information analysis) คอื กระบวนการในการรวบรวม จดั ระบบ
และหมวดหมสู่ ารสนเทศ เพอื่ ใชค้ ้นหาและคน้ พบสารสนเทศทต่ี อ้ งการ
4.2.1 การวิเคราะห์หมวดหมู่ (classification) เป็นกระบวนการในการแบ่งกลุ่มของ
ทรพั ยากรสารสนเทศท้งั ทเี่ ปน็ รปู ธรรม (objects) และนามธรรม (concepts) แยกตามล�ำดบั ข้นั อยา่ งเปน็
เหตุเปน็ ผล ตั้งแต่หมวดใหญ่ หมวดรอง หมวดยอ่ ย และหมู่ โดยอิงตามคุณลกั ษณะท่ีคล้ายคลึงกนั และ
คณุ ลักษณะทแี่ ยกความแตกต่างระหวา่ งทรพั ยากรสารสนเทศกลุ่มต่างๆ
4.2.2 การท�ำรายการ (cataloging) เป็นกระบวนการในการสร้างรายการเข้าถึง (entries)
หรือระเบียน (records) เพื่อใช้ค้นหา ค้นพบ และได้รับทรัพยากรสารสนเทศ ในบริบทขององค์การ
สารสนเทศ ค�ำว่า “การท�ำรายการ” ครอบคลุมต้ังแต่การบรรยายข้อมูลทางบรรณานุกรม การวิเคราะห์
เรอ่ื ง การกำ� หนดเลขหมู่ และกจิ กรรมอน่ื ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การเตรยี มทรพั ยากรสารสนเทศกอ่ นนำ� สง่ แกผ่ ใู้ ช้
4.2.3 การก�ำหนดหัวเร่ือง (subject) หัวเร่อื ง คอื หวั ข้อเร่ืองหรอื แก่นเรอ่ื ง (theme) ของ
งานสรา้ งสรรคใ์ ดๆ ทมี่ กั ปรากฏอยา่ งชดั เจนอยใู่ นเนอ้ื หาของงาน ชอ่ื เรอื่ งของงาน หรอื แทรกอยใู่ นสาระสำ� คญั
ทงี่ านน้นั ๆ ท่ีตอ้ งการจะสื่อออกไปสผู่ ใู้ ช้สารสนเทศไดร้ บั รู้
4.2.4 การท�ำดรรชนีและสาระสังเขป การท�ำดรรชนีเป็นการวิเคราะห์เอกสาร และสร้าง
เปน็ รายการคำ� ทเ่ี ปน็ ตวั แทนของเอกสารนน้ั ๆ สว่ นการทำ� สาระสงั เขปเปน็ การวเิ คราะหเ์ อกสาร จบั ใจความ
และน�ำเสนอใหม่ในลักษณะทส่ี ้ัน กระชบั ไดใ้ จความ
4.3 การสร้างตัวแทนความรู้ (knowledge representation) เป็นการน�ำเสนอและจัดรูปแบบ
ความรู้ ใหอ้ ยู่ในรปู แบบทร่ี ะบบคอมพิวเตอร์สามารถนำ� ไปใชไ้ ด้ ประกอบด้วย
4.3.1 ออนโทโลยี (ontology) เป็นการจ�ำแนกความรู้ออกมาแล้วจัดแยกหมวดหมู่ให้เป็น
กลมุ่ ๆ แลว้ แตกเปน็ โครงสรา้ งขอ้ มลู แบบลำ� ดบั ชน้ั หมวดหมู่ เพอ่ื ใหผ้ ใู้ ชห้ รอื เครอื่ งคอมพวิ เตอรป์ ระมวลผล
อ่าน และท�ำการวิเคราะห์ข้อมูลได้ง่ายขึ้น เพ่ืออธิบายสิ่งเหล่านี้ให้มนุษย์และคอมพิวเตอร์ความเข้าใจได้
ตรงกนั
4.3.2 อนุกรมวิธานวิทยา (taxonomy) เปน็ การจดั หมวดหมแู่ นวคดิ หรอื เรอ่ื ง แบง่ ออกเปน็
กลุ่มย่อยโดยการระบุหรือบรรยายความหมาย การต้ังชื่อ เพื่อช่วยในการสืบค้นเก่ียวกับแนวคิดหรือ
เรื่องนน้ั ๆ
4.3.3 เว็บเชิงความหมาย (semantic web) เป็นเทคโนโลยีท่ีใช้ในการจัดเก็บและน�ำเสนอ
เนอ้ื หาแบบมโี ครงสรา้ ง รวมถงึ สามารถวเิ คราะห์ จำ� แนก หรอื จดั แบง่ ไดว้ า่ ขอ้ มลู ทปี่ รากฏนนั้ มคี วามสมั พนั ธ์
กบั ขอ้ มูลอื่นๆ ในแตล่ ะระดับอยา่ งไร เปน็ การจดั เกบ็ และน�ำเสนอแบบมีล�ำดับข้นั