Page 26 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 26
2-16 การวจิ ยั เบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
1.3 ทรัพยากรสารสนเทศและทรัพยากรความรู้ ทรพั ยากรสารสนเทศเป็นขอ้ มลู และสารสนเทศ
ทเ่ี กดิ ขน้ึ เผยแพรแ่ ละใชง้ านในองคก์ าร สว่ นทรพั ยากรความรเู้ ปน็ สงิ่ ทเ่ี กดิ จากการรวบรวมความรู้ ความสามารถ
ทกั ษะ ของบคุ คลในองคก์ าร ทรัพยากรความร้จู ัดเป็นทุนทางปญั ญาขององคก์ าร
1.3 สังคมสารสนเทศ เป็นสังคมการสร้าง การเผยแพร่ การใช้ และการบูรณาการสารสนเทศ
เป็นฐานของกิจกรรมทางการเมือง เศรษฐกจิ และสังคม
1.4 สังคมออนไลน์ เปน็ สงั คมทม่ี กี ารสอ่ื สาร มกี ารปฏสิ มั พนั ธ์ หรอื เชอื่ มโยงกนั โดยทางออนไลน์
ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรืออาจเรียกอีกอย่างว่า “ส่ือสังคม” (social media) ซ่ึงเป็นการรวบรวม
ชอ่ งทางการส่อื สารท่ีมุ่งเนน้ การนำ� เข้า การแบ่งปัน และการใชข้ อ้ มลู รว่ มกนั บนอนิ เทอรเ์ น็ต
1.5 จริยธรรมสารสนเทศและจรรยาบรรณ ครอบคลมุ เน้อื หาเรอ่ื งจริยธรรมสารสนเทศ ซึง่ เปน็
จริยธรรมทีเ่ กี่ยวข้องกบั การสรา้ ง การจดั การ การเผยแพร่ และการใชส้ ารสนเทศ รวมทั้งเป็นบรรทัดฐาน
ของสงั คมทก่ี ำ� กบั ดแู ลความประพฤตขิ องคนในสงั คมในเรอื่ งดงั กลา่ ว สว่ นจรรยาบรรณเปน็ สง่ิ ทก่ี ำ� หนดขน้ึ
ในกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพ เพื่อรักษาชื่อเสียงและเกียรติคุณของผู้อยู่ในวิชาชีพนั้น เช่น จรรยาบรรณ
นักวชิ าชีพสารสนเทศ เป็นต้น
1.6 ทรัพยส์ ินทางปัญญา เปน็ เรอ่ื งเกยี่ วกบั ผลงานอนั เกดิ จากการประดษิ ฐ์ คดิ คน้ หรอื สรา้ งสรรค์
ของมนษุ ย์ แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื 1) ทรพั ยส์ นิ ทางอตุ สาหกรรมทเี่ นน้ ความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นเรอื่ ง
ของสินคา้ อตุ สาหกรรม เช่น สทิ ธบิ ัตร เครอ่ื งหมายการค้า เปน็ ต้น และ 2) ลขิ สิทธิ์ คอื สทิ ธิแตเ่ พียง
ผู้เดยี วของผสู้ ร้างสรรคท์ มี่ ีในงานท่ีสร้างสรรค์ เช่น วรรณกรรม ศลิ ปกรรม เป็นต้น
1.7 นโยบายสารสนเทศ เปน็ หลกั การ กฎหมาย หรอื แนวปฏบิ ตั ทิ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั การสรา้ ง การรวบรวม
การเข้าถึง การเผยแพร่ และการใช้สารสนเทศ
1.8 การรู้สารสนเทศ/การรู้เท่าทันสื่อ/การรู้ดิจิทัล ครอบคลมุ เนอื้ หาเกยี่ วกบั 1) การรสู้ ารสนเทศ
ซ่ึงเป็นความรู้ความสามารถและทักษะของบุคคลในการเข้าถึงสารสนเทศ ประเมินสารสนเทศที่ค้นมาได้
และใชส้ ารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2) การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื คอื สมรรถนะในการใชส้ อ่ื ตา่ งๆ รวมถงึ การวเิ คราะห์
และเขา้ ใจในรปู แบบของสอ่ื และเทคนคิ ตา่ งๆ ทสี่ อ่ื ใชใ้ นการสรา้ ง และมผี ลกระทบตอ่ ผรู้ บั สอื่ และ 3) การรู้
ดิจทิ ลั คือ สมรรถนะในการใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัล รวมทง้ั ความสามารถท่ีจะเข้าใจ สร้าง และใช้สื่อดจิ ทิ ัล
2. กลุ่มการจัดการองค์การสารสนเทศ
กลุ่มการจัดการองค์การสารสนเทศครอบคลุมการจัดการองค์การสารสนเทศ เช่น ห้องสมุด
หอจดหมายเหตุ หอศลิ ป์ ศนู ยส์ ารสนเทศ ศนู ยข์ อ้ มลู ศนู ยเ์ อกสาร และลกั ษณะงานทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั องคก์ าร
สารสนเทศ ดังนี้
2.1 การจัดการองค์การ เปน็ กจิ กรรมเกีย่ วกับการบรหิ ารทรพั ยากรและกิจการอืน่ ๆ เพอ่ื ใหบ้ รรลุ
วตั ถุประสงคท์ ี่ก�ำหนดไว้ เป็นการดำ� เนนิ งานโดยอาศยั หลัก ระบบ และการควบคมุ ในการใช้ทรัพยากรได้
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพมากท่สี ุด