Page 21 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 21
แนวคิดการวิจยั ทางสารสนเทศศาสตร์ 2-11
ความสำ� คญั ของหอ้ งสมดุ ตอ่ การสำ� เรจ็ การศึกษา ข้อสังเกต การวจิ ัยนมี้ ีความผสมผสานและเก่ียวโยงกนั
หลายศาสตร์ อาทิ จิตวทิ ยา บรรณารักษศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์
2.5 นิเทศศาสตร์ เปน็ ศาสตรท์ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั ศลิ ปะในการสอื่ สาร การสอ่ื สารในองคก์ ารสารสนเทศ
เป็นกระบวนการในการส่งผ่านข่าวสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับสาร หมายรวมถึงการส่ือสารภายในองค์การ
สารสนเทศ และการส่ือสารระหว่างองค์การสารสนเทศกับผู้ใช้/ชุมชนภายนอก การส่ือสารมีความส�ำคัญ
ต่อองค์การสารสนเทศ ในดา้ นการจดั องคก์ ารสารสนเทศ การเปน็ ผ้นู �ำ และการตัดสินใจทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ
เคร่ืองมือในการบริหารและสร้างความเข้าใจท่ีตรงกัน ความเชื่อถือศรัทธาในองค์การและขวัญก�ำลังใจใน
การท�ำงาน และความร่วมมือประสานงานกันระหว่างองค์การ การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการส่ือสารโดยมี
สารสนเทศศาสตรเ์ ปน็ พน้ื ฐานนนั้ จงึ มงุ่ เนน้ การประยกุ ตเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการจดั การ
สารสนเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การใชส้ อ่ื ออนไลนซ์ งึ่ เปน็ โครงสรา้ งพน้ื ฐานทสี่ ำ� คญั ในปจั จบุ นั ทมี่ บี ทบาท
ทั้งในด้านการรับ การส่งสารสนเทศต่างๆ และเป็นช่องทางส�ำคัญในการเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ
ดงั ตวั อยา่ ง
การวจิ ัยเรอื่ ง การประชาสมั พนั ธ์ห้องสมดุ มหาวิทยาลัยของรฐั ในประเทศไทย (นัสฤมล มาเจริญ,
2550) ท่ีศึกษาสภาพการด�ำเนินงาน รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคของการประชาสัมพันธ์ห้องสมุด
มหาวทิ ยาลยั ของรฐั ตลอดจนนำ� เสนอแนวทางในการประชาสมั พนั ธห์ อ้ งสมดุ มหาวทิ ยาลยั ของรฐั ขอ้ สงั เกต
การวิจัยน้ีมีความผสมผสานและเกี่ยวโยงกับหลายศาสตร์ อาทิ บรรณารักษศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์
นเิ ทศศาสตร์
การวจิ ยั เรอ่ื ง แนวทางการใชส้ อ่ื สงั คมออนไลนก์ บั งานประชาสมั พนั ธ์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์
(จฑุ ารัตน์ ศราวณะวงศ,์ 2558) ศกึ ษาพฤตกิ รรม ปญั หา อุปสรรค และความตอ้ งการใชส้ ือ่ สังคมออนไลน์
กับงานประชาสัมพันธ์ของผู้ปฏิบัติงานประชาสัมพันธ์ และก�ำหนดแนวทางการน�ำส่ือสังคมออนไลน์มาใช้
กับงานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ข้อสังเกต การวิจัยนี้มีความผสมผสานและเกี่ยวโยง
กับหลายศาสตร์ อาทิ สารสนเทศศาสตร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ นเิ ทศศาสตร์
การวจิ ยั เรอ่ื ง การใชส้ อ่ื สงั คมออนไลน์ และการรสู้ ารสนเทศอเิ ลก็ ทรอนกิ สด์ า้ นสขุ ภาพของแรงงาน
กมั พูชาในประเทศไทย (จันทมิ า เขยี วแกว้ , ทัศนีย์ เกรกิ กลุ ธร, ศริ ิธร ยิง่ เรงเรงิ , พนิตนาฏ ชำ� นาญเสือ,
และพรเลศิ ชมุ ชยั , 2560) ศกึ ษาพฤตกิ รรมการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ /สอ่ื สงั คมออนไลน์ การสบื คน้ ขอ้ มลู สขุ ภาพ
จากสื่อสังคมออนไลน์ และการรู้สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ของแรงงานกัมพูชาในประเทศไทย ข้อสังเกต
การวิจัยน้ีมีความผสมผสานและเกี่ยวโยงกับหลายศาสตร์ อาทิ บรรณารักษศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ นิเทศศาสตร์
การวจิ ยั เรอ่ื ง การเผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธห์ อจดหมายเหตมุ หาวทิ ยาลยั ของรฐั ในประเทศไทย
(บหุ ลนั กลุ วจิ ติ ร, 2561) ศกึ ษาสภาพการดำ� เนนิ งานการเผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธห์ อจดหมายเหตุ ศกึ ษา
ความคิดเห็นของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานต่อรูปแบบและสื่อที่ควรใช้ และเปรียบเทียบความคิดเห็นของ
ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานต่อรูปแบบและสื่อท่ีควรใช้ในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หอจดหมายเหตุ
มหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย ข้อสังเกต การวิจัยน้ีมีความผสมผสานและเก่ียวโยงกับหลายศาสตร์
อาทิ บรรณารักษศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์ นเิ ทศศาสตร์