Page 32 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 32
2-22 การวิจยั เบอื้ งต้นทางสารสนเทศศาสตร์
5.8 ความพึงพอใจของผู้ใช้ (user satisfaction) เปน็ การท่ีผู้ใชย้ อมรบั และมีความรู้สกึ ทีด่ ีในการ
มีปฏิสมั พนั ธก์ บั ระบบหรือบริการสารสนเทศ
6. กลุ่มวิธีวิทยาทางสารสนเทศศาสตร์
กลุ่มวิธวี ิทยาทางสารสนเทศศาสตร์ (information science methodology) ครอบคลมุ เนอ้ื หา
ด้านการศึกษาและการวัดสารสนเทศ และวิธีวิทยาท่ีเกิดขึ้นใหม่อย่างต่อเน่ือง (Chellappandi &
Vijayakumar, 2018) ประกอบด้วย
6.1 การวเิ คราะหเ์ นอื้ หา (content analysis) เปน็ เทคนคิ ในการศกึ ษาเนอื้ หาของสง่ิ พมิ พ์ ขอ้ ความ ภาพ
วีดิทัศน์ เสียง อย่างเป็นระบบ เน้ือหาจะได้รับการวิเคราะห์ ตีความ ท�ำรหัส (coding) ท�ำให้สามารถ
วเิ คราะห์ท้ังเชิงปรมิ าณและคุณภาพได้
6.2 การวิเคราะห์ส่ิงพิมพ์เชิงปริมาณหรือดัชนีวรรณกรรม (bibliometrics) เป็นการใช้วิธีการ
ทางคณิตศาสตรห์ รือสถติ ใิ นการศึกษาสารสนเทศท่ีบันทกึ ไว้ในรูปสงิ่ พมิ พ์
6.3 การวิเคราะห์การอ้างอิง (citation analysis) เปน็ การศกึ ษารปู แบบและความถ่ีของรายการ
อา้ งอิงของหนังสือหรอื บทความ
6.4 การวิเคราะห์สารสนเทศเชิงปริมาณ (informatrics) มงุ่ เนน้ การศกึ ษาทรพั ยากรสารสนเทศ
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ รวมถงึ การวดั สารสนเทศทไี่ ดจ้ ากระบบค้นคืนสารสนเทศดว้ ย
6.5 การวิเคราะห์ผลงานทางวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ (scientometrics) เป็นการวิเคราะห์
เชงิ ปรมิ าณ ของการผลติ เผยแพร่ และใชผ้ ลงานทางวทิ ยาศาสตร์ เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจระบบและกลไกของการวจิ ยั
ทางวทิ ยาศาสตร์
6.6 การวิเคราะห์เว็บไซต์เชิงปริมาณหรือเว็บโอเมทริกซ์ (webometrics) เป็นการวิเคราะห์เชงิ
ปรมิ าณของการสรา้ งและใชท้ รพั ยากรสารสนเทศบนเวบ็ รวมทงั้ การศกึ ษาเรอื่ งตวั เชอ่ื มโยง (links) รายการ
อา้ งองิ บนเว็บและข้อมลู เกี่ยวกับโปรแกรมคน้ หา
6.7 การวเิ คราะหท์ รพั ยากรสารสนเทศอเิ ลก็ ทรอนกิ สบ์ นอนิ เทอรเ์ นต็ เชงิ ปรมิ าณ (cybermetrics)
เป็นการศึกษาในลักษณะเดียวกันกับเว็บโอเมทริกซ์ แต่ครอบคลุมกว้างขวางรวมทรัพยากรสารสนเทศ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ทกุ ประเภทบนอินเทอรเ์ น็ต
การแบง่ กลมุ่ ขอบเขตเนอ้ื หาการวจิ ยั ทจี่ ดั ไวน้ ไ้ี มไ่ ดม้ ลี กั ษณะทตี่ ายตวั เนอ้ื หาอาจมกี ารเปลยี่ นแปลง
คือ ไม่มีการท�ำวิจัยอีกต่อไป หรือมีเน้ือหาใหม่เพ่ิมเติมตามพัฒนาการและพลวัตของสาขาวิชา ผู้วิจัยจึง
ควรติดตามความก้าวหนา้ และพยายามศึกษางานวจิ ัยใหมๆ่ ในสาขาวชิ าอยา่ งต่อเนื่อง