Page 29 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 29
การตดั ตอ่ ภาพและเสยี งภาพยนตร์ 12-19
ภาพที่ 12.5 การตัดชน (cut) ด้วยภาพ 2 ช็อต จากภาพยนตร์เรื่อง Lawrence of Arabia จากภาพใกล้ (C.U.)
Lawrence (ผู้แสดงในภาพคือ Peter O’Toole) กำ�ลังเป่าเปลวไฟจากไม้ขีดไฟ ตัดภาพไปที่ ภาพ
กว้าง (L.S.) ทะเลทราย Arabian ท่ามกลางแสงแดด เพื่อสื่อความหมายถึงความร้อนของทะเล
ทรายและเหตุการณ์ร้อน ๆ หรือสำ�คัญกำ�ลังจะเกิดขึ้น
ท่ีมา: จากภาพยนตร์ เร่ือง Lawrance of Arabia (Davis Lean, 1962).
2.2 การจางซอ้ น หรอื ดสิ ซอลฟ์ (dissolve) คอื การเชอื่ มภาพทไ่ี ดร้ บั สมญาวา่ เปน็ เครอ่ื งมอื
ของคนท�ำหนงั ในการควบคมุ จกั รกลเวลา (The dissolve is the filmmaker’s “time machine”1) ดสิ
ซอลฟ์ ทำ� หนา้ ทส่ี ำ� คญั ในการเชอ่ื มภาพเหตกุ ารณห์ รอื เวลาในภาพยนตรท์ ต่ี า่ งกนั เขา้ ดว้ ยกนั โดยไมท่ ำ� ให้
ผู้ชมสับสนหรอื สงสัย ลกั ษณะของดิสซอลฟ์ คือ ภาพแรกเลอื นหรือจางหาย โดยมภี าพท่สี องซ้อนทับเขา้
มา การควบคมุ ความเรว็ หรอื ชา้ ของดสิ ซอล์ฟ เป็นส่ิงส�ำคัญทีผ่ ตู้ ดั ต่อภาพยนตรต์ อ้ งกำ� หนดใหส้ อดคลอ้ ง
กับอารมณ์ของภาพยนตร์ ข้อควรระวังในการใช้ดิสซอล์ฟ คือ ไม่ควรใช้ต่อเนื่องตลอดทุกฉาก เพราะจะ
ท�ำให้ภาพยนตรด์ ำ� เนินเร่ืองช้าและนา่ เบอ่ื ในสายตาผชู้ ม
2.3 การจางหรือเฟด (fade) คือ การเช่ือมภาพท่ีมีสองลักษณะ ได้แก่ การจางเข้าหรือ
เฟดอิน (fade in) และการจางออกหรือเฟดเอา้ ท์ (fade out) ภาพที่เฟดอนิ คอื จากภาพเฟรมด�ำคอ่ ยๆ
จางหายเปลี่ยนเป็นภาพท่ีต้องการน�ำเสนอข้ึนมาแทนที่ มักใช้ส�ำหรับการเปิดเร่ืองหรือขึ้นต้นฉากหรือ
เหตุการณ์ใหม่ในภาพยนตร์ ภาพเฟดอินให้ความรู้สึกเหมือนการเปิดม่านการแสดงบนเวที เพ่ือเตรียม
พร้อมส�ำหรับชมการแสดง ส่วนภาพที่เฟดเอ้าท์ คือภาพเหตุการณ์เล่ือนหรือจางออก จนกลายเป็นภาพ
เฟรมดำ� มกั ใชเ้ พอ่ื ปดิ หรอื จบเรอ่ื ง หรอื จบเหตกุ ารณห์ นงึ่ พรอ้ มจะนำ� ผชู้ มไปสอู่ กี เหตกุ ารณห์ นงึ่ การเฟดอนิ
และเฟดเอา้ ทน์ ี้ ผตู้ ดั ตอ่ ภาพยนตรจ์ ะกำ� หนดชว่ งเวลาใหช้ า้ หรอื เรว็ เพอ่ื สอื่ อารมณใ์ หส้ อดคลอ้ งกบั การเลา่ เรอ่ื ง
ของฉากนนั้ ๆ
1 Edward Dmytryk. (1984). On Film Editing (p. 84). USA: Focal Press.