Page 25 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 25

การตัดตอ่ ภาพและเสียงภาพยนตร์ 12-15
แทรกภาพ การเลือกถ่ายในจังหวะท่ีเหมาะสมและทิ้งช่วงเวลาของการเลือกถ่ายให้สอดคล้องกับการส่ือ
อารมณ์ในบีท (beat) การแสดงนน้ั ๆ และค�ำนึงถึงความต่อเนอื่ งของภาพท่ีแทรกเข้าไปในมาสเตอรซ์ ีน

       การตดั ต่อเสียงของการเลือกถ่าย (pick up shot) เพือ่ แทรกในมาสเตอรซ์ ีน จะตอ้ งมคี วามตอ่
เนอื่ งของเสยี งไมโ่ ดดหรอื สะดดุ กบั เสยี งในมาสเตอรซ์ นี โดยเฉพาะฉากมาสเตอรซ์ นี ทเี่ นน้ การสนทนาของ
ตวั ละคร การตัดตอ่ การเลือกถ่าย ด้วยขนาดภาพใกล้ (CU) รบั หน้าตวั ละครพดู ประโยคทส่ี ำ� คญั และตัด
ไปที่มาสเตอร์ซีนเสียง เสียงสนทนา ไม่สะดุด เสียงต้องซิงค์กับปาก ซึ่งซิงค์คือ ซิงโครไนเซช่ัน (syn-
chronization) หมายถงึ เสยี งและภาพมาพรอ้ มและตรงกนั โดยมีการตดั ตอ่ ควบคมุ ใหเ้ กิดข้ึน การตดั ต่อ
เสยี งบรรยากาศ หรอื ambience ปรู องตลอดฉากการสนทนา จะทำ� ใหเ้ กดิ ความกลมกลนื ของเสยี งในฉาก
ได้ดียงิ่ ขนึ้

       3. 	การตัดต่อเสียงเป็นกลไกการส่ืออารมณ์ให้กับภาพยนตร์ นอกจากช็อตภาพจากการถ่ายท�ำ
ภาพยนตรจ์ ะถกู นำ� มาผา่ นการตดั ตอ่ เพอื่ สอ่ื สารการเลา่ เรอื่ งภาพยนตรแ์ ลว้ การตดั ตอ่ เสยี งซง่ึ มาจากแหลง่
เสียงหลายลักษณะ เช่น เสยี งดนตรที ่ีแตง่ ข้ึน เสียงเพลงประกอบภาพยนตร์ เสียงประกอบภาพยนตร์ใน
ลกั ษณะซาวด์ เอฟเฟกต์ (sound effect) เปน็ ตน้ เสยี งคอื เครอื่ งมอื สำ� คญั ทที่ ำ� ใหภ้ าพยนตรส์ อื่ สารอารมณ์
และความรสู้ กึ ใหก้ บั ผชู้ ม

       ผู้ชมภาพยนตร์มักจะคุ้นเคยกับเสียงดนตรีที่ถูกแต่งขึ้นเฉพาะภาพยนตร์ ทั้งในลักษณะของ
background music (BGM) ซ่ึงเป็นลักษณะของท�ำนองดนตรีที่แต่งข้ึนเพ่ือเน้นการส่ืออารมณ์ในบาง
ฉากของภาพยนตร์ โดย BGM จะเป็นหน่งึ เดียวกบั ประเภทของภาพยนตร์

       การประพันธ์ดนตรีประกอบภาพยนตร์ในลักษณะของธีมซอง (theme song) หรือซาวด์แทรก
(soundtrack) ซ่ึงเปน็ การแตง่ เพลงทเี่ นน้ ท�ำนอง ไมเ่ นน้ เนอ้ื ร้อง น�ำไปวางเป็นเพลงหลกั ของภาพยนตร์
ในบางฉาก ไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งทกุ ฉากของภาพยนตรธ์ มี ซอง จะปรบั การน�ำเสนอเปลย่ี นลลี าดนตรภี ายใตเ้ พลง
เดียวให้เขา้ กบั บรรยากาศและอารมณฉ์ ากตา่ งๆ ของภาพยนตร์

       เสียงในการตัดต่อภาพยนตร์ที่ส�ำคัญ เป็นเสียงท่ีต้องคิดออกแบบ โดยมีผู้ท�ำหน้าประพันธ์เพลง
โดยเฉพาะ เพื่อท�ำให้เกิดการออกแบบเสียง เป็นเสียงท่ีแต่งข้ึนเพื่อประกอบภาพเหตุการณ์ในฉาก
ภาพยนตร์ และต้องการใหผ้ ้ชู มรู้สึกรว่ มในจงั หวะนัน้ ของภาพยนตร์

       การออกแบบเสยี งจะเปน็ เพยี งเสยี งดนตรที ม่ี ลี ลี าตรงจงั หวะกบั การตดั ตอ่ ภาพ การออกแบบเสยี ง
จะไม่เน้นการแต่งเป็นเพลง แต่เป็นเพียงแค่จังหวะท�ำนองที่รองรับภาพเหตุการณ์หรือบีทส�ำคัญของการ
แสดงตัวละครในฉาก ผู้ท�ำหน้าที่ตัดต่อภาพยนตร์ จะตัดต่อภาพเพ่ือให้จังหวะภาพในฉากส่ืออารมณ์กับ
ผู้ชม แต่ภาพอย่างเดียวไม่เพียงพอ ต้องมีการเน้นเสียง การออกแบบเสียงประกอบอารมณ์ร่วมกับภาพ
การแสดง

       การตัดตอ่ เสยี งอีกประเภทหนงึ่ คือ ซาวด์ เอฟเฟกต์ หรอื เสยี งประกอบภาพยนตรเ์ ปน็ เสียงที่มี
ทมี่ าจากเหตกุ ารณใ์ นฉากภาพยนตร์ เชน่ เสยี งฝนตก เสยี งไซเรนรถตำ� รวจ เสยี งสนุ ขั หอน และเสยี งจกั จนั่
เรไร เปน็ ต้น การตัดตอ่ เพอ่ื ใสเ่ สียงซาวด์ เอฟเฟกต์ จะสามารถหาเสียงไดจ้ ากเวบ็ ไซตท์ ใี่ ห้ใชเ้ สยี งได้ฟรี
ไมม่ คี า่ ลขิ สทิ ธ์ิ เมอ่ื ใสเ่ สยี งซาวด์ เอฟเฟกต์ ในฉากภาพยนตร์ จะเปน็ การสรา้ งบรรยากาศใหก้ บั ภาพยนตร์
และทำ� ใหผ้ ชู้ มกลมกลืนไปกับเหตกุ ารณ์การเล่าเรอื่ งของภาพยนตร์
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30