Page 24 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 24

12-14 การผลิตภาพยนตรเ์ บื้องต้น
ชว่ ยทำ� ให้การสมั ภาษณ์นางเอกในประเดน็ การจดั ทำ� ออฟฟิศ โดยดัดแปลงบา้ นเป็นท่ที ำ� งาน ทำ� ให้ตอ้ งมี
การทงิ้ ของไมจ่ �ำเป็นออกไป ซึง่ เป็นส่ิงทท่ี ้ิงทา้ ยใหเ้ หน็ เหมอื นนางเอกมีปมปัญหากบั ส่ิงนี้

       ผทู้ ำ� หนา้ ท่ตี ัดต่อภาพยนตร์ ทัง้ ในรปู แบบภาพยนตรโ์ ฆษณา ภาพยนตร์บนั เทิง และภาพยนตร์
สั้น จะเป็นผู้รับผิดชอบเบ้ืองต้นในการตัดต่อภาพและเสียงภาพยนตร์ไปพร้อมกัน การตัดต่อเสียง การ
ออกแบบเสียง ผู้ท�ำหน้าท่ีตัดต่อ จะเลือกเสียงดนตรีเพ่ือเป็นเสียงไกด์ไลน์ (guide line) ให้กับการ
ออกแบบเสยี ง

       หลังจากตัดต่อภาพยนตร์เสร็จส้ิน จะมีการออกแบบเสียง การออกแบบเสียง โดยผู้ท�ำดนตรี
ประกอบภาพยนตร์ ใช้เสียงจากไกด์ไลน์ไปต่อยอดการออกแบบเสียง เพื่อเป็นการออกแบบเสียงของ
ภาพยนตรต์ อ่ ไป

       องคป์ ระกอบสำ� คญั ของการตดั ตอ่ เสยี งภาพยนตร์ ภายใตข้ น้ั ตอนหลงั การถา่ ยทำ� ภาพยนตร์ หรอื
post production สรุปประเดน็ สำ� คัญทเี่ ป็นองค์ประกอบหลักของการตดั ตอ่ เสยี งภาพยนตร์ ได้ดงั นี้

       1. 	การตัดต่อเสียงต้องเล่าเรื่องภาพยนตร์ไปในแนวทางเดียวกับการตัดต่อภาพ ส่ือภาพยนตร์
เนน้ การเลา่ เรอื่ งผา่ นภาพเคลอ่ื นไหว โดยมภี าพและเสยี งเปน็ กลไกสำ� คญั ในการสอื่ สารเรอ่ื งเลา่ ความสำ� คญั
ของภาพมีมากกว่าเสียง โดยมีการก�ำหนดสัดส่วนเปรียบเทียบไว้ท่ี ความส�ำคัญของภาพร้อยละ 60 ใน
ขณะทค่ี วามสำ� คัญของเสียงอยทู่ ี่ร้อยละ 40 การตดั ต่อภาพยนตรจ์ งึ เริ่มตน้ จากการตดั ต่อภาพ และมกี าร
ตัดต่อเสยี งเขา้ มาประกอบภาพ

       การนำ� เสยี งประเภทแรกทมี่ คี วามสำ� คญั มาตดั ตอ่ รว่ มกบั การตดั ตอ่ ภาพคอื การตดั ตอ่ เสยี งสนทนา
หรือ dialogue ให้ตรงกับการพูดของตัวละคร นอกจากน้ันบางฉากภาพยนตร์จะมีการตัดต่อเสียง
บรรยากาศของฉาก ท่ีเรียกว่า แอมเบยี นซ์ (ambience) หรอื รมู โทน (roomtone) หรอื เสยี งบรรยากาศ
ซึ่งเปน็ เสยี งท่บี นั ทึกในระหวา่ งถ่ายทำ� ดว้ ยการอดั เสียงบรรยากาศจรงิ ในฉาก และนำ� มาตัดต่อเสียง รว่ ม
กบั เสยี งสนทนา เพอ่ื สรา้ งความสมจรงิ ใหก้ บั เหตกุ ารณใ์ นฉาก เชน่ ฉากตวั ละครสองคนยนื คยุ ทปี่ า้ ยรถเมล์
การตดั ตอ่ เสยี งของฉากน้ี จะมเี สยี งสนทนา และตอ้ งมเี สยี งบรรยากาศ คอื เสยี งบรรยากาศรมิ ถนนรถแลน่
ไปมา สื่ออารมณ์ให้ผู้ชมติดตามชมภาพยนตร์ฉากนี้ เห็นตัวละครท้ังสองคุยกันและสร้างความน่าเชื่อ
ดูสมจรงิ จากการได้ยนิ เสียงบรรยากาศรถแลน่ ไปมา เพราะตัวละครทัง้ สองยนื คุยกันริมถนน

       2. การตัดต่อเสียงต้องสร้างความต่อเนื่องไปพร้อมกับการตัดต่อภาพ การถ่ายทำ� ภาพยนตร์ใน
บางลกั ษณะใช้ เทคนคิ การถา่ ยท�ำแบบมาสเตอรซ์ ีน (master scene) เปน็ การถา่ ยท�ำครอบคลุมทงั้ ฉาก
ด้วยช็อตยาวต่อเนื่อง เพ่ือรองรับการแสดงของตัวละครในฉาก ท�ำให้ผู้แสดงสามารถแสดงบทบาทยาว
ต่อเน่ืองไมม่ ีการตัดคตั (cut/shot)

       การถา่ ยทำ� แบบมาสเตอร์ซีน จะมกี ารเกบ็ ช็อตภาพในลักษณะของพกิ อัป ช็อต (pick up shot)
คอื ชอ็ ตแทรก ทม่ี กั เนน้ ขนาดภาพใกล้ (CU) เพอ่ื ตดั ตอ่ แทรกชอ็ ตทถ่ี า่ ยยาวคลมุ ทง้ั ฉากของมาสเตอรซ์ นี

       การเลือกถ่าย (pick up shot) จะเนน้ ในสิ่งทสี่ �ำคญั ต้องการส่อื สารหรือย้ําใหผ้ ชู้ มสังเกตและรับรู้
ในส่ิงน้ัน การตัดต่อภาพและเสียงในฉากภาพยนตร์ท่ีมีการถ่ายแบบมาสเตอร์ซนี และมีการถ่ายเก็บชอ็ ต
ในลักษณะการเลือกถ่ายไปพร้อมกันนี้ เม่ือน�ำไปผ่านการตัดต่อภาพยนตร์ ผู้ท�ำหน้าท่ีตัดต่อจะต้อง
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29