Page 26 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 26
12-16 การผลติ ภาพยนตร์เบอ้ื งต้น
การตัดต่อเสียงเป็นส่ิงท่ีส�ำคัญไม่น้อยไปกว่าการตัดต่อภาพ แต่ผู้ชมจะไม่ค่อยรู้สึกกับการตัดต่อ
เสียงเทา่ การตดั ต่อภาพ โทน่ี สก็อตต์ (Tony Scott) ผกู้ �ำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ (ค.ศ. 1944-2012)
เจ้าของผลงานภาพยนตร์เร่อื งเด่นในอดตี คอื Top Gun (Tony Scoutt, 1986) ไดก้ ลา่ วถึงความส�ำคัญ
ของการตดั ตอ่ ภาพยนตร์ ไวว้ า่ การปน้ั งานภาพยนตร์ เปน็ หนา้ ทส่ี ำ� คญั ของผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์ ไมเ่ พยี งการ
ปั้นภาพยนตร์ผ่านการก�ำกับและถ่ายทอดออกมาเป็นช็อตภาพท่ีสวยงามเพียงแค่น้ัน แต่การตัดต่อ
ภาพยนตร์ร่วมกับผู้ตัดต่อเป็นหน้าท่ีที่ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ต้องร่วมปั้นภาพยนตร์อย่างพลาดไม่ได้ และใน
การตัดต่อภาพยนตร์ ผูก้ ำ� กบั ตอ้ งมองใหเ้ หน็ และไปให้ถงึ ทง้ั การตัดตอ่ ภาพและการตดั ต่อเสยี ง
การตัดต่อภาพยนตร์ และมองลึกไปถึงรายละเอียดของการตัดต่อภาพและเสียงของภาพยนตร์
โดยเฉพาะการตดั ตอ่ เสียงมคี วามส�ำคญั สรปุ ได้ดงั นี้
1. การตัดต่อเสียงท�ำให้เกิดสะพานเสียง (sound bridges) สะพานเสยี ง มคี วามหมายเกยี่ วขอ้ ง
โดยตรงกบั การตดั ตอ่ เสยี ง โดยเฉพาะการตดั ตอ่ เสยี งระหวา่ งฉากตอ่ ฉาก ทำ� ใหเ้ สยี งทา้ ยฉากแรกตอ่ เนอ่ื ง
ไปข้ึนต้นหัวเสียงของฉากต่อมา เพ่ือท�ำให้เกิดความต่อเน่ืองในความรู้สึกของผู้ชม โดยไม่ต้องค�ำนึงถึง
ความต่อเนื่องของภาพระหวา่ งฉากตอ่ ฉาก
การตัดต่อสะพานเสียง เป็นลักษณะของการโอเวอร์แลปเสียง (sound overlap) เป็นไปได้ท้ัง
โอเวอร์แลป เสยี งดนตรีประกอบ เสยี งออกแบบ และเสยี งสนทนา กรณีสะพานเสียงของเสยี งสนทนาตัว
ละคร จะเห็นไดบ้ ่อยคร้งั ในการตดั ต่อเสียงภาพยนตร์ เชน่ เสียงสนทนาของตวั ละครในต้นฉากทส่ี อง ถกู
น�ำมาใช้ตดั ตอ่ ในทา้ ยฉากทีห่ นง่ึ เป็นเสียงโอเวอร์แลป คำ� พูด และเป็นการสง่ ตอ่ อารมณ์ผ้ชู มใหเ้ ตรยี มต้งั
รับกบั เหตกุ ารณใ์ นฉากทสี่ องของภาพยนตร์
2. การตัดต่อเสียงท�ำให้เกิดส่ิงตรงกันข้ามกับภาพ (parallel and contrapuntal sound) การ
ตดั ตอ่ ภาพและเสยี งในบางฉากภาพยนตรไ์ มจ่ ำ� เปน็ ทต่ี อ้ งสอดคลอ้ งกนั เสมอไป เพอื่ เปน็ การสอื่ สารการเลา่
เรอื่ งโดยใชค้ วามขดั แยง้ ของภาพและเสยี ง การตดั ตอ่ เสยี งในลกั ษณะนอี้ าจเปน็ เสยี งประเภทการออกแบบ
เสียงแสดงอารมณ์ตื่นเตน้ ในขณะท่ภี าพฉากเหตุการณแ์ สดงใหเ้ หน็ ตวั ละครนั่งทำ� งานเงียบๆ เพียงลำ� พัง
ความขัดแย้งระหว่างเสียงและภาพดังกล่าวนี้ ต้องการสื่อสารเพื่อกระตุ้นให้ผู้ชมตีความท�ำความเข้าใจว่า
น่าจะเกดิ ส่ิงไมด่ ีต่อไปกบั ตวั ละคร
3. การตัดต่อเสียงท�ำให้เกิดความสมจริงของเสียงที่เกิดข้ึนในฉากภาพยนตร์ (diegetic sound)
ฉากภาพยนตรท์ ม่ี เี หตกุ ารณเ์ รอื่ งเลา่ ก�ำหนดตามบทภาพยนตร์ การถา่ ยท�ำและการตดั ตอ่ ภาพยนตรจ์ ะนำ�
เสนอใหเ้ หน็ เหตุการณ์ในฉากต่างๆ ถ้าฉากใดของภาพยนตร์มกี ารน�ำเสนอสิ่งทท่ี �ำให้เกดิ เสียง การตัดต่อ
เสยี งจะน�ำเสนอเสยี งน้นั ๆ ให้ปรากฏในฉากภาพยนตร์ และเรียกเสยี งทีเ่ กดิ ขน้ึ ในฉากภาพยนตร์จากการ
ตดั ต่อเสียงว่า เสียงที่เกิดข้ึนในภาพยนตร์ (Diegetic Sound) เช่น เสยี งเรียกเขา้ ของโทรศพั ทม์ ือถอื และ
ตวั ละครรับโทรศัพท์น้นั เสยี งเปิดและปิดประตู โดยตวั ละครในฉากแสดงการเปดิ และปิดประตนู ้ัน รวมท้งั
เสยี งสนทนาของตัวละคร
Diegetic Sound ท�ำให้เกิดการตัดต่อเสียงท่ีต้องสัมพันธ์กับภาพ และท�ำให้ผู้ชมได้ยินเสียงเป็น
ส่วนประกอบทส่ี อดคล้องเป็นหน่ึงเดียวกับภาพ