Page 53 - ลักษณะภาษาไทย
P. 53
วลแี ละอนปุ ระโยคในภาษาไทย 4-43
เรื่องที่ 4.2.1
ความหมายของอนุประโยค
อนุประโยค คือ หน่วยทางภาษาที่สูงกว่าวลี (phrase) แต่ต่ากว่าประโยค (sentence) มี
โครงสร้างเหมือนประโยคท่ีมีภาคแสดง 1 ภาค ไม่สามารถปรากฏตามลาพังได้ แต่ต้องประกอบอยู่กับ
ประโยคหลกั หรือมขุ ยประโยค
ในหนังสือหลักภาษาไทยของพระยาอุปกิตศิลปสาร (2480, น. 26-100) ได้แบ่งโครงสร้าง
ประโยคในภาษาไทยออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ เอกรรถประโยค อเนกรรถประโยค และสังกรประโยค
ดงั ตารางต่อไปน้ี
ชนิดของประโยค ส่วนประกอบ ตวั อย่างประโยค
เอกรรถประโยค (ประโยคสามัญ)
อเนกรรถประโยค (ประโยครวม) ประโยคเลก็ สตั วก์ ินน้า
สงั กรประโยค (ประโยคซอ้ น) ประโยคใหญ่ที่ประกอบขึ้นจาก น้าขึ้นแต่ลมลง
ประโยคเล็กตั้งแต่ 2 ประโยค ประโยคเล็ก ประโยคแรก คือ
ขน้ึ ไปมารวมกนั นา้ ข้นึ
ประโยคเล็ก ประโยคท่ีสอง คือ
ลมลง โดยมี ค าเชื่ อมสมภาค
(สันธาน) เขา้ มาเชื่อมทัง้ สองประโยค
ประโยคใหญ่ที่ประกอบข้ึนจาก นายมีซึ่งเป็นเสมียนตายเมื่อฝน
มุขยประโยค (ประโยคประธาน ตก
หรือประโยคหลัก) และอนุ - มขุ ยประโยค คอื นายมตี าย
ประโยค (ประโยคเล็ก) อนุประโยค (ประโยคเลก็ ) ท่ี 1 คอื
ซ่ึงเปน็ เสมียน
อนุประโยค (ประโยคเล็ก) ที่ 2
คือ เมอ่ื ฝนตก