Page 31 - ศิริวิบุลกิตติ์
P. 31

(29)

	 หลังจากปลงพระศพพระราชมารดาแล้ว พระศิริวิบุลกิตติ์ก็ทรง
ปกครองราษฎรด้วยความสงบสุขไปตลอดพระชนมกาล มกี ารจัดการบำรงุ
พระนคร บำรุงศาสนาวัดวาอารามและราชอุทยานต่าง ๆ เป็นที่ร่ืนรมย์
ทั่วไป ท้ังในเขตเมืองและปริมณฑล อีกทั้งทรงศีลภาวนาปลงสังขารทุกขัง
อนจิ จัง อนตั ตา สั่งสอนอาณาประชาราษฎร์ในท่ีสดุ 


กลวิธแี ต่ง


	 หลวงศรีปรีชา (เซ่ง) ใช้กลวิธีตามขนบการแต่งวรรณคดี คือเริ่มต้น
ดว้ ยบทไหวค้ รู ขอพร บอกท่ีมาของเรอ่ื ง แล้วดำเนนิ เรือ่ งโดยใช้กลบทชนิด
ตา่ ง ๆ ๘๖ ชนดิ ตามดว้ ยกาพยแ์ ละฉนั ท์ เพยี บพรอ้ มดว้ ยรสแหง่ วรรณคดี
ทั้ง ๔ รส คือ เสาวรจนี นารีปราโมทย์ พิโรธวาทัง และสลั ลาปังคพไิ สย
เนื่องจากเน้ือเรื่องเดิมจากนิทานชาดก ไม่มีอะไรซับซ้อนนัก และถูกบังคับ
ด้วยลักษณะกลบทซ่ึงยากท่ีจะดำเนินความให้วิจิตรพิสดารได้ โดยเฉพาะ
บทพรรณนา แต่ก็นับว่าผู้แต่งได้ใช้ความพยายามอย่างย่ิงในการแต่ง ไม่
เพียงแต่จะใช้กลบทหลากหลายอย่างไม่ซ้ำกันเท่านั้น ยังดำเนินความได้
ตามเร่อื งในชาดกอย่างครบถ้วนอกี ด้วย


คุณคา่ ของศริ ิวิบลุ กิตต
ิ์

	 ศิริวิบุลกิตต์ินับว่าเป็นวรรณคดีท่ีสำคัญเร่ืองหน่ึงที่ควรได้รับความ
สนใจเปน็ พิเศษ ด้วยคุณค่าด้านต่าง ๆ ต่อไปน้
ี
	 ๑. คุณค่าทางภาษา เน่ืองจากกลบทศิริวิบุลกิตต์ิเป็นวรรณคดีที่เกิด
ขน้ึ ในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาตอนปลาย ภาษาที่ใช้ในการแตง่ กเ็ ปน็ ลกั ษณะของ

โครงการเลือกสรรหนังสือ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36