Page 32 - ศิริวิบุลกิตติ์
P. 32

(30)

ภาษาที่นิยมใช้กันอยู่ในเวลานั้น โดยเฉพาะคำที่ปรากฏในกลอนกลบทซ่ึง
เป็นคำไทยแท้ เป็นคำท่ีมีใช้เสมอในสมัยนั้น อาจจะมีคำมาจากภาษาบาลี
สนั สกฤตหรอื เขมร กล็ ว้ นเปน็ คำที่ผู้อา่ นเข้าใจได้ เพราะเป็นคำพื้น ๆ ท่ีใช้
ในชีวิตประจำวัน ไม่มีคำยากให้ตีความ ส่วนตัวสะกดการันต์อาจมีผิดแผก
ไปจากพจนานุกรมบ้างก็คงใช้ตามสมัยนิยม ยังไม่มีบรรทัดฐานที่กำหนดไว้
อยา่ งชัดเจน อนึ่ง มกี ารใชค้ ำสกรรถ คอื แผลงพยางคท์ ้ายของคำใหเ้ หน็
แปลก ๆ จำนวนมาก เช่น นคร เป็น นครงั เทวา เปน็ เทวศิ โมลี เป็น
โมลนิ เป็นต้น ทงั้ นี้ เพอ่ื รับสมั ผสั ให้ได้ใจความนัน่ เอง

	 ๒. คณุ คา่ ทางอารมณ์ แมจ้ ะมคี วามพยายามของผแู้ ตง่ ในการพรรณนา
ความงาม ความรัก ความอาลัย เหมือนนิทานกลอนส่วนมาก แต่ความ
จำกัดในการแต่งเป็นกลบททำให้ไม่สามารถเลือกใช้ถ้อยคำให้เกิดอารมณ์
ได้เต็มที่ตามความต้องการของผู้ประพันธ์ กระนั้นเน้ือเร่ืองท่ีดำเนินไปด้วย
กลบทต่าง ๆ ยังทำให้ผู้อ่านรู้เร่ืองและซาบซ้ึงใจได้ โดยเฉพาะความ
กตญั ญขู องบตุ รทยี่ อมเสยี สละชวี ติ ยอมถกู ประหารแทนพระบดิ านนั้ สะเทอื น
อารมณย์ ง่ิ นกั อกี ตอนหนง่ึ ทต่ี งั้ ใจจะไปรบั พระมารดากลบั มาเสวยสขุ แตพ่ ระ
มารดาสนิ้ พระชนมเ์ สียก่อนน้นั ใหค้ วามรู้สึกสะเทอื นใจมาก

	 ๓. คุณค่าทางสติปัญญา ในหนังสือศิริวิบุลกิตต์ิได้ให้ความรู้ความ
เขา้ ใจแกผ่ อู้ า่ นในเรอ่ื งตา่ ง ๆ เชน่ ความเชอื่ เรอ่ื งพระอนิ ทรต์ ามลัทธพิ ราหมณ์
กระบวนการและพิธีการในการยกทัพจับศึก การตั้งค่ายตามกระบวนยุทธ
การออกบวชตามลัทธพิ ราหมณ์โดยเปน็ ผลู้ ะบ้านเรือน เปน็ ตน้ 


                                                                 มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37