Page 33 - ศิริวิบุลกิตติ์
P. 33
(31)
๔. คุณค่าทางวรรณคดี ศิริวิบุลกิตติ์ เป็นกลอนกลบทเร่ืองแรกใน
วรรณคดีไทย ไม่ปรากฏว่ามีการแต่งกลอนกลบทมาก่อน แม้ในหนังสือ
จินดามณขี องพระโหราธบิ ดีทแี่ ตง่ ในสมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช สว่ น
ท่ีเป็นตำราโคลงและกลอนซ่ึงเป็นแบบอย่างสำหรับผู้แต่งคำประพันธ์น้ัน ก็
มีแต่โคลงและกาพย์เป็นพื้น สำหรับกลอนก็มีแต่กลอนสี่ กลอนห้าและมี
ฉันท์อยู่บ้าง จะมีกลบทบ้างก็ปรากฏในโคลงกลบท ซึ่งมีช่ือพ้องกับกลอน
กลบทอย่หู ลายบท น่าเชื่อได้วา่ หลวงศรปี รีชา (เซง่ ) ไดน้ ำช่อื กลบทโคลง
เหล่าน้ีมาต้ังเป็นช่ือกลอนกลบทในส่วนท่ีมีลักษณะบังคับเหมือนกัน เช่น
กลบทสารถชี กั รถ เสอื ซอ่ นเลบ็ สกดั แคร่ จตั ตวาทณั ฑี นาคบรพิ นั ธ์ เปน็ ตน้
ครั้นมาถึงสมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีผู้นิยมแต่งคำ
ประพันธ์ประเภทกลอนมากข้ึนโดยแต่งตามแบบแผนของกลอนกลบท
โวหารวาทีในศิริวิบุลกิตต์ิถือเป็นพื้นฐานของกลอนท่ัว ๆ ไป เพราะไม่มี
ลักษณะบังคับมากนัก แต่พระสุนทรโวหาร (ภู่) เลือกใช้กลบทมธุรสวาที
เป็นลักษณะเฉพาะตัวของกลอนสนุ ทรภู่ ดังตวั อย่าง
โครงการเลอื กสรรหนงั สือ