Page 6 - คำให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรม เอกสารจากหอหลวง
P. 6

(4)

      การค​น้ พ​ บเ​อกสารจ​ากห​ อห​ ลวงเ​รอ่ื งค​ำใ​หก้ ารข​นุ ห​ ลวงว​ดั ป​ ระดท​ู่ รงธรรม​
​นั้น ถือว่า​เป็น​เอกสาร​ที่​ทรง​คุณค่า​ทาง​ประวัติศาสตร์​ไทย​มาก​ใน​ฐานะ​ที่​เป็น​
​เอกสาร​ร่วม​สมัย​บรรยาย​สภาพ​กรุง​ศรีอยุธยา​โดย​ละเอียด เริ่ม​ต้น​ด้วย​
ภูมสิ​ถาน กำแพงป​ ้อมค​ ปู​ ระตห​ู อร​บ สภาพภ​ ายในเ​ขตก​ ำแพงพ​ ระนคร การว​าง​
ผงั เมอื งเ​ขตพ​ ระร​าชฐานใ​นแ​ละน​ อกเ​กาะเ​มอื ง ชมุ ชนโ​ดยร​อบ ตลาดใ​นก​รงุ แ​ละ​
รอบก​รุง ชนต​ ่างเ​มืองแ​ ละต​ ่างช​ าติท​ ี่เ​ข้าม​ าต​ ิดต่อค​ ้าขายใ​นพ​ ระนคร สิ่งส​ำคัญ​
ที่เ​ป็น​หลักเมือง ได้แก่ พระร​าชม​ ณเฑียร พระม​ หาธาตุ พระ​มหา​เจดีย์​และ​
พระพุทธ​ปฏิมากร สิ่ง​ศักดิ์​สิทธิ์​ที่​อยู่​นอก​พระนคร ข้อมูล​ที่​บันทึก​ไว้​นั้น​เมื่อ​
ศกึ ษาส​ำรวจพ​ ืน้ ทีแ่​ ลว้ พบว​า่ ม​ ค​ี วามถ​ ูกต​ อ้ งแ​ มน่ ยำ ทำใหเ​้ ห็นภ​ าพค​วามเ​จรญิ ​
รุ่งเรืองข​ อง​กรุง​ศรีอยุธยา และก​ ารใ​ช้ช​ ีวิตข​ อง​ผู้คน​ใน​สมัยน​ ั้น

      ใน​ส่วน​หลัง​ของ​เอกสาร​บรรยาย​ถึง​โบราณ​ราช​ประเพณี ได้แก่
ธรรมเนียม​ถือ​น้ำ พระ​ราช​พิธี​ลงสรง​เจ้า​ฟ้า พิธี​โสกันต์ ว่า​ด้วย​เครื่อง​ยศ​
สำหรับ​ศพ กระบวนแ​ ห่​พระบรม​ศพ แบบอ​ ย่างก​ ารพ​ ระ​เมรุ จาก​นั้นบ​ รรยาย​
ถึงต​ ำแหน่ง​ยศพ​ ระร​าชา​คณะฐ​านานุกรม ทำให้​ทราบ​ถึง​ลักษณะก​ าร​ปกครอง​
คณะส​งฆ์ใ​นส​มัยอ​ ยุธยา อีกต​ อนห​ นึ่งว​่าด​ ้วยพ​ ระพ​ ิไ​ชย​เสนา เป็นต​ ำราส​อนข​ ้อ​
ควร​ประพฤติข​ องข​ ้าราชการ มี ๒๕ ข้อ แสดง​ให้เ​ห็น​ถึงภ​ ูมิปัญญา​และ​ธรรม​
จริยา​ของ​ผู้​ปกครอง​สมัย​นั้น ตอน​สุดท้าย​เป็น​คำ​ให้การ​เกี่ยว​กับ​เหตุการณ์​
สมัย​อยุธยา​ตอน​ปลาย​ตั้งแต่​รัชกาล​สมเด็จ​พระ​สรร​เพ็ชญ​ที่ ๘ (พระเจ้า​เสือ)
ถึงส​ มเด็จพ​ ระเจ้า​เอกท​ ัศน์

      เอกสารป​ ระเภทค​ำใ​หก้ ารท​ เ​ี่ ปน็ ท​ ร​่ี จู้ กั ก​นั ด​ ี คอื คำใ​หก้ ารข​ นุ ห​ ลวงห​ าว​ดั
และ​คำใ​ห้การช​ าวก​รุง​เก่า มี​ประวัติ​ความ​เป็น​มาใ​นก​ าร​พบ​เอกสาร ดังนี้

      หนังสือ​คำ​ให้การ​ขุน​หลวง​หา​วัด พิมพ์​ครั้ง​แรก​ที่​โรง​พิมพ์​หมอ​สมิท
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๖ เนื้อหา​เป็น​เรื่อง​พงศาวดาร​กรุง​ศรีอยุธยา ตั้งแต่​สมัย​
พระ​เจ้า​บุเรง​นอง​ตี​กรุง​ศรีอยุธยา​ได้​ใน​แผ่น​ดิน​สมเด็จ​พระ​มหิ​นท​ราธิ​ราช
และ​พรรณ​นา​ภูมิ​สถาน​กรุง​ศรีอยุธยา ทำเนียบ​ต่างๆ ตลอด​จน​ราช​ประเพณี​
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11