Page 70 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 70
9-6 อาหารและโภชนบำบัด
4) ความดันโลหิต 130/85 มิลลิเมตรปรอทหรือม ากกว่าหรือก ำลังร ักษาค วามดันโลหิตสูงอ ยู่
5) น้ำตาลในเลือดห ลังจ ากง ดอ าหารข ้ามค ืน 8 ชั่วโมงเท่ากับห รือม ากกว่า 100 มก./ดล หรือน ้ำตาลห ลัง
อาหาร 2 ชั่วโมงเท่ากับห ริอมากกว ่า 140 มก./ดล. หรือเป็นเบาห วานท ี่ก ำลังร ักษาอยู่
เนื่องจากร อบเอวเป็นสิ่งท ี่ว ัดได้ง่ายด ้วยตนเอง และเป็นด ัชนีสำคัญข องกลุ่มอาการเมแ ทบอ ลิก ดังนั้น จึงมี
คำแนะนำวิธีวัดรอบเอวในเวลาเช้าก่อนรับประทานอ าหาร ตำแหน่งว ัดไม่ควรม ีเสื้อผ้าปิดห รือม ีเสื้อผ้าเนื้อบาง
2.1 หลกั เกณฑใ์ นการว ัดเส้นรอบว งเอว มีดังนี้คือ
1) ผู้ถ ูกวัดอ ยู่ในท่าย ืน ให้เท้า 2 ข้างห ่างก ันประมาณ 10 เซนติเมตรก ันมิให้ล ้ม
2) หาต ำแหน่งขอบบนสุดของก ระดูกเชิงกรานแ ละขอบล่างข องชายโครง
3) ใชส้ ายว ัดพ ันร อบเอวท ีต่ ำแหน่งจ ุดก ึ่งกลางร ะหว่างข อบบ นข องก ระดูกเชิงกรานแ ละข อบล ่างข องช าย
โครง โดยให้ส ายวัดอ ยู่ในแนวขนานกับพ ื้น
4) วัดในช่วงห ายใจออก ให้ส ายวัดแ นบลำตัวพ อดี ไม่รัดแน่น
2.2 ความช กุ ของกลมุ่ อาการ ในป ระเทศส หรัฐอเมริกามีผ ู้ท ี่อยู่ในกลุ่มอ าการนี้ร้อยล ะ 23.7 ความชุกเพิ่มข ึ้น
ตามอ ายุ กลุ่มอายุ 20-29 ปี พบร้อยละ 6.7 เมื่อถึงอ ายุ 60-69 พบได้ร ้อยละ 43.5 แต่ละเชื้อชาติจ ะม ีความช ุกแ ตกต่าง
กันได้ ในป ระเทศไทยพบก ลุ่มอาการอ้วนลงพุงได้ร ้อยละ 32.1 แยกเป็นเพศชายร้อยละ 18.6 เพศหญิงร ้อยละ 45 นับ
เป็นความเสี่ยงท ี่ค ุกคามสุขภาพอ ย่างร้ายแ รง
2.3 พฤติกรรมที่ทำให้เพมิ่ จำนวนข องกลมุ่ อาการเมแ ทบอ ล ิก
2.3.1 พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ได้แก่ อาหารจานด่วน อาหารว่างที่มีแป้ง ไขมัน เช่น อาหารทอด
กรอบ ทอดซ้ำด้วยน้ำมันเดิมทำให้เกิดไขมันอิ่มตัวมาก ซึ่งเป็นต้นตอของไขมันแอล.ดี.แอล (LDL cholesterol) ที่
ไปเกาะกับผ นังห ลอดเลือด ทำให้เกิดหลอดเลือดตีบแ ข็ง
2.3.2 การใช้เครอื่ งช ่วยผ อ่ นแ รงทกุ ช นิดในชีวิตป ระจำวัน ทำให้ล ดก ารใช้แรงกาย
2.3.3 การกนิ อาหารท่ีมีปริมาณมากตามขนาดท่ีผู้ขายส่งเสริม รวมถึงก ารแ ถมน ้ำหวาน น้ำอัดลม เช่น
เมื่อซื้อแฮมเบอร์เกอร์ขนาดใหญ่ จะได้น้ำอัดลมขนาดใหญ่ขึ้นอีกเป็นของแถม ทำให้ผู้บริโภคได้อาหารเกินความ
ต้องการ
2.3.4 การเรง่ รีบและการแ ข่งขันทางธรุ กิจ โดยมุ่งมั่นสร้างร ายได้ให้ม ากข ึ้น ทำให้ข าดเวลาในก ารออก
กำลังกาย
ผลของก ารร ับประทานม ากและอ อกแรงน ้อย ทำให้เกิดไขม ันสะสมใต้ผิวหนังส่วนห นึ่ง อีกส ่วนห นึ่งท ี่
เป็นอ ันตรายค ือไขมันในช่องท ้อง ซึ่งม ีหน้าที่พยุงอวัยวะ เช่น ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ให้อ ยู่ในช่องท้องได้ตามป กติ
ในผ ูห้ ญิง ไขม ันจ ะส ะสมอ ยูท่ ีต่ ้นข า สะโพก เพื่อเตรียมไวใ้ชใ้นร ะยะต ั้งค รรภแ์ ละเวลาใหน้ มบ ุตร ทำให้
รูปร่างคล้ายลูกแพร์ ส่วนไขมันที่สะสมในช่องท้องพบในผู้ชายทำให้พุงใหญ่ รูปร่างคล้ายลูกแอปเปิ้ล อย่างไรก็ดี ผู้
หญิงเมื่อห มดป ระจำเดือนแล้ว จะมีรูปร่างอ ้วนลงพุงได้
ไขมันในช่องท้องนี้เป็นสิ่งที่สัมพันธ์กับภาวะดื้ออินซูลินและการเกิดโรคแทรกซ้อนที่ทำให้เกิดภาวะ
หลอดเลือดแ ข็ง
2.4 การวนิ จิ ฉยั กล่มุ อ าการเมแทบอ ลิก มีวิธีว ินิจฉัยดังนี้
1) วัดร อบเอว
2) วัดค วามดันโลหิตจะต้องไม่เกิน 130/85 มิลลิเมตรป รอท
3) เจาะเลือดห าร ะดับน ้ำตาล ไขม ันไตรกลีเซอไรด์ ไขม ัน เอช.ดี.แอล การเจาะไขม ันต ้องง ดอ าหารข ้าม
คืนอย่างน ้อย 10 ชั่วโมง
ลิขสทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช