Page 244 - สังคมโลก
P. 244

10-4 สังคมโลก

ตอนท​ ี่ 10.1
แนวคิดเ​กยี่ ว​กับข​ บวนการเ​คลอื่ นไหวภ​ าค​ประชา​สังคม

โปรด​อ่านห​ ัว​เรื่อง แนวคิด และว​ ัตถุประสงค์ข​ องต​ อนท​ ี่ 10.1 แล้วจ​ ึงศ​ ึกษาร​ าย​ละเอียด​ต่อไ​ป

  หวั ​เรื่อง

         10.1.1 	ความ​หมาย​และ​ความ​เป็น​มาข​ อง​ขบวนการเ​คลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม
         10.1.2 	ลักษณะส​ ำคัญข​ อง​ขบวนการเ​คลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม
         10.1.3 	ความ​สำคัญข​ องข​ บวนการ​เคลื่อนไหว​ภาคป​ ระชา​สังคม

  แนวคิด

         1. 	ข บวนการเ​คลือ่ นไหวภ​ าคป​ ระชาส​ งั คมห​ มายถ​ งึ ค​ วามเ​คลือ่ นไหวข​ องก​ ลุม่ ค​ นท​ มี​่ จ​ี ดุ ม​ ุง่ ห​ มายเ​ดยี วกนั ​
            โดยเ​น้นก​ ารเ​ปลี่ยนแปลง​ทางส​ ังคม และก​ ารร​ ณรงค์ใ​นก​ ิจกรรมท​ างการเ​มือง สังคมแ​ ละส​ ิ่งแ​ วดล้อม​
            เปน็ ส​ ำคญั ความเ​ปน็ ม​ าข​ องข​ บวนการเ​คลือ่ นไหวภ​ าคป​ ระชาส​ งั คม จงึ ม​ ค​ี วามส​ มั พนั ธก​์ บั ส​ งั คมแ​ ตล่ ะ​
            ยุค​สมัย ทำให้​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​แต่ละ​ขบวนการ​มี​ความ​เหมือน​และ​แตก​ต่าง​
            กัน ที่​ส่วนห​ นึ่ง​อธิบายด​ ้วยท​ ฤษฎี แต่​อีก​ส่วน​หนึ่งอ​ ธิบายไ​ด้​ด้วย​การ​ปฏิบัติ ความเ​ปลี่ยนแปลงใ​น​
            ยุค​โลกา​ภิ​วัต​น์​นับ​เป็น​ส่วน​สำคัญ​ที่​ทำให้​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​มี​บทบาท​สำคัญ​ใน​
            ปัจจุบัน

         2. 	ลกั ษณะส​ ำคญั ข​ องข​ บวนการเ​คลือ่ นไหวภ​ าคป​ ระชาส​ งั คม ประการแ​ รก การร​ วมก​ นั ข​ องป​ ระชาชนเ​ปน็ ​
            จำนวน​หนึ่ง ที่​เป็นป​ ระชากร​จำนวนน​ ้อยห​รือป​ ระชากรจ​ ำนวนม​ าก ประการท​ ี่​สอง การม​ ี​พฤติกรรม​
            การร​ วม​กลุ่ม ประการท​ ี่​สาม การก​ ำหนด​วัตถุประสงค์​บาง​ประการท​ ี่​แน่นอน ประการท​ ี่​สี่ การม​ ี​ผล​
            ประโยชน์ร​ ่วม​เพื่อ​สร้าง​หลัก​ประกันใ​น​เป้า​หมาย​ร่วม​กัน ประการท​ ี่ห​ ้า การ​ใช้ค​ วาม​เชื่อ​และค​ ่า​นิยม​
            บาง​ประการ​เป็น​หลัก​ใน​การ​รวม​กลุ่ม​มากกว่า​การ​ใช้​เหตุผล​ทำให้​มี​การ​ใช้​ความ​รุนแรง​ใน​หลาย​
            กรณี ประการ​ที่​หก การ​มุ่ง​เน้น​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​สังคม สถาบัน​ทาง​สังคม หรือ​การ​ต่อ​ต้าน​การ​
            เปลี่ยนแปลงอ​ ย่างใ​ดอ​ ย่างห​ นึ่ง หรือก​ ารป​ ้องกันห​ รือก​ ารต​ ่อต​ ้านก​ ารเ​ปลี่ยนแปลง ประการท​ ีเ่​จ็ด การ​
            มุ่งเ​น้น​ปฏิสัมพันธ์ก​ ับภ​ ายนอก​หรือ​สังคม​เป็น​หลัก ประการ​ที่​แปด ขอบข่ายค​ วาม​ร่วม​มือ​มี​ลักษณะ​
            ที่ก​ ว้างข​ วาง​จน​มีก​ าร​ขยายต​ ัวท​ ั้งจ​ าก​ภายในป​ ระเทศ ภูมิภาค หรือ​ทั่วโ​ลก

         3. 	ข บวนการเ​คลือ่ นไหวภ​ าคป​ ระชาส​ งั คม มคี​ วามส​ ำคญั ใ​นแ​ งท่​ ีส่​ ามารถป​ ระสานเ​ชื่อมโ​ยงช​ วี ิตป​ ระจำวนั ​
            เข้า​กับ​การ​เปลี่ยนแปลง​ทางการ​เมือง​ทั้ง​ใน​ระดับ​ประเทศ​และ​ใน​ระดับ​โลก ขบวนการ​เคลื่อนไหว
            ​ภาค​ประชา​สังคม​ทำ​หน้าที่​สำคัญ​ใน​การ​ตั้ง​คำถาม​กับ​รูป​แบบ​ของ​สังคม การเมือง สิ่ง​แวดล้อม
            ​ที่​เป็น​อยู่​ใน​ปัจจุบัน ว่า​เป็น​สิ่ง​ที่​เป็น​ปัญหา​หรือ​ไม่ และ​ให้​ความ​สำคัญ​กับ​เรื่อง​มนุษยธรรม​และ​
            การ​พัฒนา​แบบ​เสมอ​ภาค​และ​เท่า​เทียม​กัน ดัง​นั้น​  ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​จึง​ไม่​ได้​
            จำกัด​อยู่​เพียง​แค่​เรื่อง​ของ​การเมือง หรือ​อำนาจ​ต่อ​รอง​ผล​ประโยชน์ แต่​สนใจ​พูด​ถึง​การ​ปกครอง​
            ที่​มี​พื้นที่​ให้​กับ​เสรีภาพ​ของ​ประชาชน​มาก​ขึ้น ลด​ช่อง​ว่าง​ระหว่าง​รัฐ​กับ​ประชาชน​ลง หรือ​อาจ​เรียก​
            ได้​ว่า​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​มี​ความ​สำคัญ​ใน​การ​เรียก​ร้อง​การ​ปกครอง​ที่​มี​มิติ​ของ​
            ความ​เป็นม​ นุษย์ม​ าก

                             ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   239   240   241   242   243   244   245   246   247   248   249