Page 248 - สังคมโลก
P. 248
10-8 สังคมโลก
อันไม่ชอบธรรมในสังคมแบบเจ้าขุนมูลนายในขณะนั้น จนนำมาซึ่งการปฏิวัติฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1789 การปฏิวัติครั้ง
นั้นเป็นการล ้มล ้างร ะบอบส มบูรณาญาสิทธิราชยไ์ด้ส ำเร็จ และน ำไปส ู่ก ารป ระกาศส ิทธิข องม นุษยช นแ ละพ ลเมือง เมื่อ
วันท ี่ 26 สิงหาคม ค.ศ. 1789 หรือ พ.ศ. 2332 โดยส มัชชาแ ห่งช าตไิดก้ ำหนดโครงสร้างก ฎหมายฉ บับใหม่ พร้อมย กเลิก
การให้ความมีเอกสิทธิ์ ขจัดเรื่องส ินบนและล้มเลิกระบบฟ ิวดัล (Feudalism)
ทิลล7ี่ ตั้งข ้อส ังเกตว ่าการเติบโตของข บวนการเคลื่อนไหวภาคป ระชาส ังคมในช่วงแ รกน ั้นเกี่ยวพ ันเชื่อมโยง
กับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจแ ละก ารเมืองเป็นห ลัก เช่น กระบวนการก ลายเป็นรัฐสภา (Parliamentarization)
กระบวนการกลายเป็นท ุนนิยมต ลาด (Market capitalization) และก ระบวนการกลายเป็นชนชั้นกรรมาชีพ (Prole-
tarianization) เป็นต้น
ขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ว ิวัฒนาการข ึ้นในช่วงปลายค ริสต์ศตวรรษท ี่ 18 หลังจากเกิดเหตุการณ์
ปฏิวัติในฝรั่งเศส และก ารที่ป ระเทศโปแลนด์ได้ม ีรัฐธรรมนูญแห่งช าติข องโปแลนด์ (Constitution of May 3, 1791)
ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญร่างฉบับแรกของยุโรป และฉบับที่ 2 ของโลก ตามหลังรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา ถือได้ว่าเป็น
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมค รั้งแรกๆ ที่มีการบ ันทึกไว้เป็นล ายล ักษณ์อักษร
ต่อม าป ลายคริสต์ศ ตวรรษที่ 19 ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมจ ะม ีลักษณะเป็นการเคลื่อนไหวเพื่อ
แรงงานแ ละส ังคมนิยมเป็นห ลัก ซึ่งน ำไปส ูก่ ารก ่อต ั้งพ รรคการเมืองแ ละอ งค์กรท ีม่ แี นวคิดแ บบร ะบบค อมมิวนิสตแ์ ละ
ประชาธิปไตยแ บบส ังคมนิยม หรือในส หร าชอ าณาจักรห ลัง ค.ศ. 1815 ภายห ลังจ ากได้ร ับช ัยชนะในส งค ราม นโปเลียน
กเ็ริ่มเข้าส ูภ่ าวะว ุ่นวายท างส ังคม เช่นเดียวกันก ับป ระเทศ อื่นๆ ในย ุโรปท ีไ่ดร้ ับแ รงก ดดันท ีย่ ังค งม อี ยูอ่ ย่างต ่อเนื่องจาก
การป ฏิรูป เช่น การปฏิวัติร ัสเซียใน ค.ศ. 1905 และ ใน ค.ศ. 1917 ซึ่งเป็นการล ่มส ลายข องจักรวรรดิซ าร์ ส่งผลให้เกิด
การล่มส ลายของจักรวรรดิรัสเซียไปจ นถึงส งครามโลกครั้งที่หนึ่ง
ในสหรัฐอเมริกา นักทฤษฎีรุ่นต ้นๆ เน้นไปที่สาเหตุข องขบวนการว ่า เกิดจ ากความค ับข้องใจ (grievances)
หรือความทุกข์ร้อน จึงนำไปสู่ปฏิกิริยาของผู้คนในรูปของการร่วมขบวนการ วิธีคิดแนวนี้รู้จักกันในนาม ทฤษฎีการ
หยุดช ะงัก (breakdown theory) แต่ม ิช ้าน านน ักท ฤษฎีร ุ่นต ่อๆ มาก ็พ าก ันป ฏิเสธท ฤษฎีด ังก ล่าว หลังจ ากม ีก ารศ ึกษา
หลายช ิน้ ท ชี่ วี้ า่ ข บวนการเคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส งั คมท เี่ กดิ ข ึน้ ม ไิ ดเ้ กดิ ข ึน้ อ ยา่ งล ุม่ ๆ ดอนๆ และไรท้ ศิ ทางเสยี เลยท เี ดยี ว
มีการกำหนดย ุทธศาสตร์ และวางแผนกันด ้วย ดังน ั้น จึงมิใช่เป็นปฏิกิริยาของผ ู้มีความค ับข้องใจแบบไม่มีเหตุผล
หลังจากนั้นก็มีผู้เสนอทฤษฎีใหม่ รู้จักกันในนามทฤษฎีการระดมทรัพยากร (resource mobilization
theory) ทฤษฎีนี้มุ่งความสนใจไปที่การทำความเข้าใจกับวิธีการ และยุทธศาสตร์ของขบวนการเคลื่อนไหว ต้องการ
อธิบายว่า เหตุใดบางขบวนการจึงประสบความสำเร็จมากกว่าบางขบวนการ ความสำเร็จนี้ดูจากความสัมฤทธิผลใน
การเปลี่ยนนโยบายรัฐ หรือในการให้รัฐออกกฎหมายใหม่ๆ เพื่อสนับสนุนจุดมุ่งหมายของข้อเรียกร้อง ทฤษฎีนี้ไม่
สนใจเลยว่าเหตุใดขบวนการจึงเกิด โดยถือว่าเป็นเรื่องที่เข้าใจได้ง่ายๆ คำเรียกขานของทฤษฎีว่า ทฤษฎีการระดม
ทรัพยากร ก็เนื่องเพราะทฤษฎีพ ยายามแสดงให้เห็นว ่า ความสำเร็จข องขบวนการเรียกร้องข ึ้นอ ยู่กับก ำลังทรัพย์ และ
ทรัพยากรต ่างๆ ที่ขบวนการจะม ีและน ำมาใช้ได้ ทรัพยากรอ าจได้จากก ารจูงใจให้มีผ ู้เข้าร ่วมขบวนการได้ม ากๆ และ
ช่วยกันอ ุดหนุนด ้านค่าใช้จ ่าย ปัจเจกบุคคลเข้าร่วมข บวนการก ็เพราะไตร่ตรองแล้วเห็นว ่า จะได้ประโยชน์จากก ารเข้า
ร่วมจึงร่วม และผลประโยชน์นี้ จูงใจให้ร่วมลงทุนด้านต้นทุนต่างๆ นอกจากนี้ความสำเร็จยังขึ้นอยู่กับว่าขบวนการ
ด ังกล่าวสามารถส ร้างเครือข่ายค วามสัมพันธ์ก ับขบวนการห รือกลุ่มอื่นๆ ให้ช่วยการร ณรงค์ได้ดีเพียงไรด้วย
7 Charles, Tilly, Social Movements 1768-2004 Boulder, CO: Paradigm Publishers, 2004.
ลขิ สิทธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช