Page 250 - สังคมโลก
P. 250
10-10 สังคมโลก
(1) ลักษณะทางโครงสร้างท่ีเอ้ือต่อการเคล่ือนไหว (structural conduciveness) หมายถึง เงื่อนไขทาง
สังคมโดยทั่วไปที่ส่งเสริมหรือขัดขวางการรวมตัวกันเป็นขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในลักษณะต่างๆ
ยกต ัวอย่าง ในท ัศน ะข องส เมลเซอรร์ ะบบส ังคมแ ละก ารเมืองข องส หรัฐอเมริกา นั้นเป็นร ะบบท ีเ่ปิดใหม้ กี ารร วมต ัวก ัน
ไดอ้ ย่างเต็มท โี่ ดยไมม่ ขี อ้ ห า้ มใดๆ กำหนดไว้ ดังน ัน้ จึงไม่มขี บวนการเคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส ังคมห รือก ลุ่มเคลื่อนไหว
ใดๆ ที่รัฐห รือทางการให้การสนับสนุนเป็นการเฉพาะเจาะจง
(2) ความต ึงเครยี ดท างโครงสร้าง (structural strain) หมายถ ึง ภาวะความต ึงเครียด หรือในทัศนะของ
มาร์กซ์หมายถึงการขัดแย้งอันเนื่องมาจากผลประโยชน์ที่ขัดกันของกลุ่มต่างๆ ในสังคม ภาวะตึงเครียดหรือความ
ข ัดแ ย้งดังก ล่าวเห็นได้จากความไม่แน่นอน ความวิตกกังวล ความไม่ชัดเจน หรือก ารปะทะกันโดยตรงข องเป้าห มาย
ซึ่งมีที่มาจากปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดข ึ้นในส ังคม
(3) ความเชื่อทวั่ ไป (general beleifs) ขบวนการเคลื่อนไหวภ าคประชาส ังคมไม่ได้เกิดขึ้นได้ง ่ายๆ จาก
ความร ู้สึกว ิตกก ังวลห รือค วามเป็นป ฏิปักษต์ ่อก ันข องค นก ลุ่มใดก ลุ่มห นึ่ง แตเ่กิดข ึ้นจ ากอ ิทธิพลข องอ ุดมการณอ์ ย่าง
ใดอ ยา่ งห นึง่ ท ชี่ ใี้หเ้ห็นถ งึ ค วามท ุกขย์ าก ความค บั ข ้องใจ และว ธิ กี ารท ีจ่ ะก ำจัดป ญั หาเหล่าน ัน้ ใหห้ มดไป ตัวอยา่ งท ีเ่หน็
ได้ก็คือ ขบวนการป ฏิวัติซึ่งมีพื้นฐานของการร วมตัวกันอยู่บนอุดมการณ์หรือความเชื่อท ี่ว่าสังคมม ีค วามไม่ยุติธรรม
หรือก ารเอาร ัดเอาเปรียบก ันย ังด ำรงอ ยู่ การก ำจัดส ิ่งเหล่าน ีใ้หห้ มดไปต ้องอ าศัยก ารต ่อสู้ท างการเมืองเท่านั้นท ำให้เกิด
อิทธิพลของค นก ลุ่มใดก ลุ่มหนึ่งท ี่ทำให้ม ีความค ับข ้องใจจนนำม าสู่ความขัดแย้ง
(4) ปัจจัยผลักดัน (precipitate factors) หมายถึง เหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่มีผลทำให้เกิดการ
เคลือ่ นไหวข องข บวนการเคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส งั คมต อ่ ม าในท นั ที ยกต วั อยา่ ง เหตกุ ารณใ์ นร ฐั อ ล าบ ามา สหรฐั อเมรกิ า
เมื่อป ี 1955 ทีผ่ ูห้ ญิงผ ิวด ำค นห นึ่งป ฏิเสธท ีจ่ ะไปน ั่งค อยร ถป ระจำท างในท ีท่ ีจ่ ัดไวส้ ำหรับค นผ ิวด ำ ซึ่งเป็นผ ลท ำใหเ้กิด
เป็นประกายการต่อสู้และการรวมตัวกันจัดตั้งเป็นขบวนการเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิพลเมืองอเมริกัน (The American
civil rights movement) ในร ะยะต ่อมา
อย่างไรก็ตาม สเมลเซอร์บอกว่า เงื่อนไขทั้งสี่ประการข้างต้นนั้นอาจเป็นผลทำให้เกิดความไม่สงบบน
ท้องถ นนห รือก ารใช้ค วามรุนแรงได้บ ้างในบ างโอกาส แต่กรณีด ังก ล่าวไม่ส ามารถที่จ ะน ำไปส ู่พ ัฒนาการของข บวนการ
เคลื่อนไหวภาคป ระชาสังคมได้แ ต่อย่างใด ถ้าห ากปราศจากเงื่อนไขอีก 2 ประการ ดังต่อไปนี้คือ
(5) กลุ่มประสานงาน (co-ordinating group) หมายถึงการรวมตัวกันของประชาชนเพื่อกระทำการ
อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งจะต้องมีการพิจารณาถึงคนที่จะเป็นผู้นำ และวิธีการที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกันระหว่างผู้เข้า
ร่วมขบวนการ การจัดหาเงินทุนและทรัพยากรที่จำเป็นในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ขบวนการเคลื่อนไหวภาค
ประชาสังคมนั้นสามารถดำรงอ ยู่ต ่อไปได้
(6) การควบคุมการปฏิบัติทางสังคม (operation of social control) เป็นการควบคุมการปฏิบัติของ
เจ้าห น้าที่ร ัฐท ี่ม ีต ่อข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคม หมายถ ึงเงื่อนไขท ี่ก ำหนดล ักษณะพ ัฒนาการข องข บวนการ
เคลื่อนไหวภาคประชาสังคม กล่าวคือเจ้าหน้าที่ของรัฐอาจมีการดำเนินการตอบโต้การท้าทาย โดยการใช้มาตรการ
ควบคุมท างส ังคมเข้าแ ทรกแซงในเงื่อนไขท ี่จ ะน ำไปส ู่ก ารร วมก ลุ่มแ ละค วามต ึงเครียด อันเป็นเงื่อนไขส ำคัญท ี่ก ระตุ้น
ให้เกิดขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมขึ้นเสียก่อน ซึ่งเป็นผลทำให้เป็นการลดกระแสความไม่พอใจและความ
ขัดแย้งที่อาจจะขยายตัวออกไปได้ หรืออย่างกรณีของการใช้กำลังตำรวจและกำลังทหาร ก็ถือเป็นมาตรการควบคุม
ทางส ังคมท ี่ส ำคัญเช่นก ัน เพราะก ารใช้ก ำลังเหล่าน ี้ม ีอ ิทธิพลต ่อผ ลพ วงข องก ารเผชิญห น้าก ันร ะหว่างเจ้าห น้าที่ข องร ัฐ
กับข บวนการเคลื่อนไหวภาคป ระชาสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขบวนการเคลื่อนไหว ปฏิวัติ ที่อาจข ยายตัวออกไปเป็น
ความข ัดแย้งท ี่รุนแรงย ิ่งข ึ้นกว่าเดิมก็ได้
ลขิ สิทธขิ์ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช