Page 255 - สังคมโลก
P. 255
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-15
ลักษณะสำคัญของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมอีกประการหนึ่ง คือการมีผู้นำที่มีบารมี (charis-
matic leader) เมื่อขบวนการเคลื่อนไหวก่อต ัวข ึ้นจะม ีขั้นต อนของการร วบรวมคน (recruitment) เกิดขึ้น ในข ั้นแรก
จะเป็นการรวมตัวก ันข องคนที่ม ีความสนใจอย่างลึกซึ้งในเป้าหมายหลักและมีอุดมคติอย่างเดียวกันกับเป้าหมายของ
การเคลื่อนไหว และในข ั้นท ี่สองจ ะเป็นการรวมตัวก ันของกลุ่มผู้ที่เห็นว่าการเคลื่อนไหวน ่าจ ะประสบค วามส ำเร็จแ ละ
เป็นเรื่องทันส มัย ซึ่งค นในก ลุ่มท ี่สองนี้ม ักจ ะเป็นคนก ลุ่มแรกๆ ที่จะถอนตัวเมื่อขบวนการเคลื่อนไหวเสื่อมอำนาจลง
และประสบค วามล ้มเหลว
ขบวนการเคลื่อนไหวภ าคประชาสังคมหรือขบวนการท างสังคม คือ การรวมก ลุ่มของบุคคลเป็นจ ำนวนมาก
เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงบางสิ่งบ างอย่างในสังคม ทั้งในระดับป ระเทศแ ละร ะดับระหว่างป ระเทศ18
อาจกล่าวได้ว่า ลักษณะส ำคัญของขบวนการเคลื่อนไหวภาคป ระชาส ังคม โดยสรุปม ีดังนี้ ประการแ รก การ
รวมกันของประชาชนเป็นจำนวนหนึ่ง ที่เป็นประชากรจำนวนน้อยหรือประชากรจำนวนมาก19 ประการที่สอง การมี
พฤตกิ รรมก ารร วมก ลุม่ ประการท สี่ าม การก ำหนดว ตั ถปุ ระสงคบ์ างป ระการท ีแ่ นน่ อน20 ประการท ีส่ ี่ การม ผี ลป ระโยชน์
ร่วมเพื่อส ร้างห ลักป ระกันในเป้าห มายร ่วมก ัน21 ประการท ี่ห้า การใช้ค วามเชื่อแ ละค ่าน ิยมบ างป ระการเป็นห ลักในก าร
รวมก ลุ่มม ากกว่าก ารใช้เหตุผลท ำให้ม ีก ารใช้ค วามร ุนแรงในห ลายก รณี ประการท ี่ห ก การม ุ่งเน้นก ารเปลี่ยนแปลงข อง
สังคม สถาบันทางสังคม หรือการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงอ ย่างใดอย่างหนึ่ง22 หรือการป้องกันหรือการต่อต้านการ
เปลี่ยนแปลง23 ประการที่เจ็ด การมุ่งเน้นปฏิสัมพันธ์กับภ ายนอกห รือส ังคมเป็นห ลัก24 ประการท ี่แปด ขอบข่ายค วาม
ร่วมม ือมีล ักษณะที่ก ว้างข วางจ นม ีก ารข ยายตัวท ั้งจ ากภายในป ระเทศ ภูมิภาค หรือทั่วโลก
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมจึงมีความแตกต่างจากพฤติกรรมการรวมเป็นกลุ่ม (collective
behavior) ในแง่ที่ว่า พฤติกรรมการรวมหมู่ขาดแบบแผนแน่นอนตายตัว เพราะเป็นเพียงความรู้สึกร่วมของบุคคล
ที่มารวมกลุ่มกันเพื่อเผชิญกับส ถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง ขาดการวางแผนล่วงหน้า เพราะเป็นการรวมกลุ่มตาม
ธรรมชาติ แตห่ ากข บวนการเคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส งั คมม วี ตั ถปุ ระสงคใ์ นก ารร วมก ลุม่ อ ยา่ งช ดั เจนในก ารเปลีย่ นแปลง
หรอื ต อ่ ต า้ นก ารเปลีย่ นแปลงท างส งั คม มกี ารเคลือ่ นไหวท ตี่ อ่ เนือ่ งเปน็ ร ะเบยี บแ บบแผนโดยม กี ารจ ดั ร ะเบยี บโครงสรา้ ง
และก ระบวนการภ ายในอย่างม ีป ระสิทธิภาพแ ละป ระสิทธิผล25
ปัจจัยสำคัญที่นำมาสู่การถือกำเนิดของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมมาจากปัญหาทางการเมือง
เศรษฐกิจ และส ังคม ที่เป็นที่มาของค วามคับข้องใจ (frustration) ที่มาจากปัจจัยภายในห รือป ัจจัยภายนอกที่ทำให้มี
ความเปลีย่ นแปลง เปา้ ห มายข องก ารเปน็ ข บวนการเคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส งั คมจ งึ ม ที ัง้ ก ารต อ่ ต า้ นก ารเปลีย่ นแปลงจ าก
ภายนอก26 หรือก ารม ุ่งเน้นก ารร ักษาส ถานภาพเดิมในส ังคม หรือก ารม ุ่งเน้นก ารส ร้างส ังคมใหม่ให้อ ยู่ในด ุลยภาพข อง
18 ผเู้ ขยี นป รบั ปรงุ เนือ้ หาส ว่ นใหญ่ มาจ าก ชษุ ณะ รุง่ ป จั ฉมิ “หนว่ ยท ี่ 9 ขบวนการเคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส งั คม” ประมวลส าระช ดุ ว ชิ าการ
เปลี่ยนแปลงทางส ังคมและก ารบ ริหารก ารพ ัฒนา หน่วยท ี่ 7-10 นนทบุรี สำนักพ ิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรร มาธิร าช 2545 หน้า 142-167
19 James M. Henslin Sociology: A Down-to-Earth Approach. Boston: Allyn and Bacon, 1997, p. 594-595.
20 ราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรมศัพท์ส ังคมวิทยา อังกฤษ-ไทย กรุงเทพมหานคร ราชบัณฑิตยสถาน 2524 หน้า 35.
21 Anthony Giddens Sociology. Oxford: Polity, Press, 1989 p. 624.
22 James W. Zandem Sociology. New York : McGraw-Hill Publishing Company, 1990, p. 375.
23 Rodney Stark Sociology. Belmont California: Wadworth Publishing Company, 1994, p. 621.
24 Anthony Giddens op.cit., p. 624.
25 David Brinkerhoff Lynn White and Suzanne T. Ortega Essential of Sociology. Belmont California : Wadworth
Publishing Company, 1999 p. 374-375.
26 James M. Henslin op.cit., pp. 594-595.
ลขิ สิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช