Page 254 - สังคมโลก
P. 254
10-14 สังคมโลก
มีประเด็น มีการรวมตัว กลายเป็น สำเร็จ ลดถ อยลง
ปรากฏขึ้น กันขึ้น องค์กร
แบบราชการ ล้มเหลว
หาท างเลือก
ร ่วมก ัน
ถูก
ปราบป ราม
กลายเป็น
กระแสหลัก
ภาพที่ 10.1 ข้นั ตอนข องขบวนการเคลือ่ นไหวภ าคประชาส ังคม
ท่มี า: ดัดแปลงจากแผนภาพข อง Blumer (1969), Mauss (1975) และ Tilly (1978)
จากรูปภาพข้างต้น จะเห็นได้ว่า ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมไม่ได้คงอยู่ถาวร แต่จะมีวงจรชีวิต
ในก ารเกิดขึ้น เติบโต แต่ส ุดท้ายแล้วขบวนการเคลื่อนไหวก็จ ะลดถ อยล งและห ายไปไม่ว ่าจะป ระสบความสำเร็จห รือ
ล้มเหลวก ็ตาม
ปัจจัยเรื่องเวลาและสถานที่มีอิทธิพลต่อการเติบโตของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม เช่น ใน
คริสต์ศตวรรษท ี่ 19 เป็นช ่วงเวลาท ี่แนวคิดเรื่อง สิทธิของปัจเจกชน เสรีภาพในการพูด และส ิทธิที่จะไม่เชื่อฟังร ัฐได้
เบ่งบานเฟื่องฟูเป็นอย่างมากในยุคนั้น ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมจึงเกิดขึ้นทั้งในสังคมเสรีนิยมและ
อำนาจนิยม เพียงแต่แตกต่างกันในเชิงรูปแบบ แต่อย่างไรก็ตาม มักจะมีการแบ่งแยกความแตกต่างระหว่างคนใน
ขบวนการเคลื่อนไหวอยู่เสมอ กล่าวค ือ ในขบวนการเคลื่อนไหว “แบบเก่า” จะเป็นการต่อสู้ในเรื่องข องความแ ตกต่าง
ทางช นชั้น และเศรษฐกิจ แต่ในข บวนการเคลื่อนไหว “แบบใหม่” จะเป็นค วามแ ตกต ่างในเรื่องข องป ระเพณี จริยธรรม
และค่านิยม ซึ่งนักสังคมวิทยาชื่อ นีล สเมลเซอร์ (Neil Smelser) เรียกว่า “เหตุการณ์ที่จุดประกาย” (Initiating
event) ซึ่งหมายถึง เหตุการณ์ใดเหตุการณ์ห นึ่งของปัจเจกบุคคลที่เป็นจ ุดเริ่มต้นข องเหตุการณ์ต อบส นองท ี่ต่อเนื่อง
กัน อันจ ะน ำไปส ู่ข บวนการเคลื่อนไหวภาคป ระชาส ังคม ตัวอย่างเช่น ขบวนการเคลื่อนไหวในเรื่องส ิทธิพ ลเมืองข องค น
อเมริกัน เริ่มต้นข ึ้นจากเหตุการ ณ์เล็กๆ ที่ผู้ห ญิงผ ิวด ำค นห นึ่งน ามว่า โรซ่า พาร์คส์ (Rosa Parks) ซึ่งถูกจับจ ากการท ี่
ปฏิเสธไม่ย อมล ุกให้ค นผิวข าวนั่งต ามคำสั่งข องพ นักงานขับรถโดยสาร จนนำไปสู่การต ่อสู้เรียกร้องสิทธิพ ลเมืองข อง
คนอ เมริกันผ ิวด ำในช ่วง ค.ศ. 1956 - 1968 หรือก ารเคลื่อนไหวของขบวนการโซลิด าริตี้ของโปแลนด์ซึ่งมีส่วนทำให้
ระบอบคอมมิวนิสต์ในทวีปยุโรปตะวันออกต้องพ่ายแพ้ก็มาจากการที่นักเคลื่อนไหวของสหภาพแรงงานชื่อ แอนนา
วาเลนท โีนว คิ ซ์ (Anna Walentynowicz) ถูกไลอ่ อกจ ากง าน เหตุการณด์ ังท ีย่ กต วั อย่างม าน เี้ปน็ ล ักษณะข องข บวนการ
เคลื่อนไหวภาคประชาสังคม ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากที่คนส่วนใหญ่ในสังคมตระหนักว่ายังมีคนอื่นๆ อีกมากในสังคมที่มี
ค่านิยมแ ละความปรารถนาแบบเดียวกันก ับต นในการที่จะเปลี่ยนแปลงโครงสร้างบางอ ย่างในสังคมที่ไม่เป็นธ รรม
ลิขสทิ ธ์ิของมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช