Page 256 - สังคมโลก
P. 256

10-16 สังคมโลก

องค์​ประกอบ​เดิม​กับ​การ​เข้า​มา​ของ​สิ่ง​ใหม่ หรือ​การ​มุ่ง​เน้น​การ​สร้าง​สังคม​ใหม่​ใน​อุดมคติ​ให้​เป็น​ไป​ตาม​ที่​ปรารถนา
หรือ การ​ต่อ​ต้าน​การ​ครอบงำ​ทาง​ด้าน​การเมือง (political domination) การ​ต่อ​ต้าน​การ​ครอบ​งำ​ทางเศรษฐกิจ
(economicdomination)และก​ ารต​ อ่ ต​ า้ นก​ ารค​ รอบงำส​ ว่ นบ​ คุ คล(personaldomination)ของป​ ระชาชน27เปน็ ตน้ เปน็ ท​ ​ี่
น่าส​ ังเกตว​ ่า ประชาชนส​ ่วน​ใหญ่ค​ งไ​ม่​ปรารถนาเ​ปลี่ยนแปลงส​ ังคมห​ ากไ​ม่มี​ปัญหาอ​ ย่างร​ ้าย​แรงแ​ ละ​รุนแรง แต่ก​ ารม​ ี​
ความ​คับ​ข้องใจ​หรือ​ความ​ทุกข์​ร้อน​ร่วม​กัน (shared grievances) ของ​ประชาชน​เป็น​สาเหตุ​สำคัญ​ประการ​หนึ่ง​ที่น​ ำ​
มาส​ ู่​การ​ก่อก​ ำเนิดข​ บวนการ​เคลื่อนไหว​ภาคป​ ระชา​สังคม

       ลักษณะ​การ​เคลื่อนไหว​ของ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม แบ่ง​ออก​เป็น​สอง​ประเภท คือ การ​
เคลื่อนไหวข​ อง​ขบวนการ​เคลื่อนไหวภ​ าค​ประชาส​ ังคม​ที่ส​ นับสนุน​ส่ง​เสริม​ให้​มีค​ วามเ​ปลี่ยนแปลง (proactive social
movement) เป็น​ขบวนการ​ที่ม​ ุ่ง​เน้น​การ​สนับสนุน ส่งเ​สริม หรือ​สร้างค​ วามเ​ปลี่ยนแปลงใ​ห้​มีข​ ึ้น​ใน​สังคม เพราะต​ ้อง​
เผชิญก​ ับป​ ญั หาท​ ีม่​ อี​ ยูใ่​นส​ ังคม และก​ ารเ​คลื่อนไหวข​ องข​ บวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคมท​ ีต่​ ่อต​ ้านห​ รือป​ ฏเิ​สธก​ าร​
เปลี่ยนแปลง​ของส​ ังคม (reactive social movement) เป็นข​ บวนการเ​คลื่อนไหว​ภาคป​ ระชา​สังคม​แนว​อนุรักษ์​นิยมท​ ี​่
ต่อ​ต้านก​ าร​เปลี่ยนแปลงเ​พราะ​การเ​ปลี่ยนแปลง​จะ​ทำให้ส​ ูญ​เสียผ​ ล​ประโยชน์​ที่ม​ ี​อยู่​เดิม

       ประเภทข​ อง​การเ​คลื่อนไหวข​ อง​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาคป​ ระชาส​ ังคม แบ่ง​เป็น​ 4 ประเภท คือ28
       1.	การ​เคลื่อนไหวข​ อง​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาคป​ ระชาส​ ังคม​ที่ม​ ุ่ง​เน้นก​ ารป​ รับเ​ปลี่ยนส​ ังคม​ทั้งหมด (trans-
formative movement) เปน็ การป​ รับเ​ปลี่ยนท​ ี่มาจ​ ากก​ ารล​ ุกฮือข​ องป​ ระชาชนจ​ ำนวนม​ าก สนับสนุนก​ ารใ​ชค​้ วามร​ ุนแรง
มี​ลักษณะเ​ป็นการป​ ฏิวัติ
       2.	 การ​เคลื่อนไหว​ของ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​ที่​มุ่ง​เน้น​การ​ก่อ​ตัว​ใหม่​ของ​สังคม​บาง​ส่วน
(reformative movement) เป็นการเ​คลื่อนไหวท​ ีม่​ ุ่งเ​น้นค​ วามเ​ปลี่ยนแปลงใ​นแ​ บบแผนท​ ีด่​ ำรงอ​ ยูใ่​นส​ ังคมบ​ างป​ ระการ
โดย​เฉ​พาะค​ วาม​อ​ยุติธรรมแ​ ละ​ความเ​สมอภ​ าค เป็นต้น
       3. การ​เคลื่อนไหวข​ อง​ขบวนการ​เคลื่อนไหวภ​ าค​ประชาส​ ังคม​ที่​ทำให้​ประชาชนป​ ลดเปลื้องจ​ าก​พันธนาการใ​น​
สังคม (redemtive movement) เป็นการ​เคลื่อนไหว​ที่อ​ ้างอิง​อยู่​กับห​ ลัก​ศาสนา ความ​เชื่อ ผู้นำ​ที่​มี​บารมี ต้องการ​ให้​
หลุดพ​ ้น​จาก​สังคม​ที่​เป็น​อยู่ เป็นต้น
       4. 	การ​เคลื่อนไหว​ของข​ บวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชาส​ ังคมท​ ี่​มุ่งเ​น้น​ทางเ​ลือก (alternative movement)
มุ่ง​เน้นก​ ารป​ รับ​เปลี่ยนพ​ ฤติกรรม​บางป​ ระการ​ของบ​ ุคคล​เป็นส​ ำคัญ
       ประเภท​การ​เคลื่อนไหว​ของ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​ใน​การ​ปรับ​เปลี่ยน​และ​การ​ก่อ​ตัว​เป็นการ​
มุ่ง​เน้น​การ​เปลี่ยนแปลง​ใน​ระดับมหภาค ที่​มี​หน่วย​วิเคราะห์​ที่​สังคม​และ​การ​เคลื่อนไหว​ของ​ขบวนการ​ทาง​สังคม​ใน​
การ​ปลดเปลื้อง​และ​ทาง​เลือก​มุ่ง​เน้น​การ​เปลี่ยนแปลง​ใน​ระดับ​จุลภาค ที่​มี​หน่วย​วิเคราะห์​ที่​ปัจเจกบุคคล เป็น​ที่​น่า​
สังเกต​ว่าการ​ปฏิวัติ (revolution) เข้า​มา​เกี่ยวข้อง​กับ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​ใน​แง่​ที่​ว่า หาก​เป็นการ​
เปลี่ยนแปลงท​ ี่เ​ป็นการ​เคลื่อนไหวข​ องค​ นในส​ ังคม​จำนวน​มาก (mass social movement) เป็นการเ​ปลี่ยนแปลง​หรือ​
การป​ รับ​เปลี่ยนท​ ั้ง​กระบวนการ​อย่างข​ นาน​ใหญ่ (major processes of reform or change) และเ​ป็นการค​ ุกคาม​หรือ​
การใ​ช้ค​ วามร​ ุนแรง (threat or use of violence) เท่ากับ​ว่าข​ บวนการเ​คลื่อนไหว​ภาคป​ ระชาส​ ังคม​ได้​ใช้ก​ าร​ปฏิวัติใ​น​
การเ​ปลี่ยนแปลงโ​ครงสร้างท​ างการเ​มือง เศรษฐกิจ และส​ ังคมอ​ ย่างถ​ อนร​ ากถ​ อนโ​คนด​ ้วยค​ วามร​ ุนแรงเ​พื่อน​ ำม​ าส​ ู่ก​ าร​
สร้าง​สังคม​ใหม่ใ​ น​ที่สุด29

         27 Rodney Stark op.cit., p. 622-624. 	
         28 See (1) David Aberle. The Peyote Religion Among the Navaho. Chicago: Aldine Press 1966 (2) Anthony Gidden
op.cit., p. 625.
         29 Anthony Gidden op.cit., p. 605. 	

                             ลิขสทิ ธขิ์ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   251   252   253   254   255   256   257   258   259   260   261