Page 261 - สังคมโลก
P. 261
ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมในสังคมโลก 10-21
นอกจากน ี้ แฟรงค์ บาม การท์ เนอร 3์ 5 (Frank R. Baumgartner) อาจารยป์ ระจำส าขาว ชิ าร ฐั ศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั
แห่งรัฐเพนซิลเวเนีย (Penn State University) ยังศึกษาว่า ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมได้ก่อให้เกิด
ผลกร ะท บท ี่ส ำคัญต ่อก ารว างน โยบายภ าคร ัฐข องป ระเทศส หรัฐอเมริกา ซึ่งให้ค วามส ำคัญก ับป ระเด็นท ี่ส าธารณชนให้
ความสนใจ หรืออ าจก่อให้เกิดก ารเปลี่ยนแปลงนโยบายได้ โดยเฉพาะป ระเด็นเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ และข้อเรียกร้อง
ของขบวนการเคลื่อนไหว บามการ์ทเนอร์ สรุปว่า ประเด็นทางสังคมใดที่มีการเคลื่อนไหวโดยขบวนการเคลื่อนไหว
ภาคป ระชาสังคมม ากก็จะยิ่งมีผลกระทบต่อการท ี่รัฐบาลจ ะให้ความส ำคัญในการพ ิจารณานโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับประเด็นท ี่ม ีการเคลื่อนไหวเรียกร้องม ากเท่านั้น โดยเฉพาะประเด็นเกี่ยวก ับส ุขภาพและสิ่งแ วดล้อม
สำหรบั ค วามส ำคญั ข องข บวนการเคลือ่ นไหวภ าคป ระชาส งั คมน ัน้ มคี วามส ำคญั อ ยา่ งย ิง่ ในส งั คมป ระเทศด อ้ ย
พัฒนา หรือป ระเทศกำลังพัฒนาท ี่ต้องประสบปัญหาต ่างๆ มากมาย ไม่ว ่าจ ะเป็นปัญหาการข าดแคลนปัจจัยสี่ ปัญหา
เรื่องส ิ่งแ วดล้อม ยาเสพต ิด สุขภาพจ ิต เป็นต้น เพราะร ะบบร าชการไมส่ ามารถป รับต ัวใหเ้ท่าท ันก ับป ัญหาท ีน่ ับว ันห นัก
หน่วงและรุนแรงได้ จึงต ้องส ่งเสริมสนับสนุนให้ขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมใหม่เข้ามาม ีบทบาทช่วยแ ก้ไข
ปัญหาเหล่าน ี้36 ทั้งนีเ้นื่องจากขบวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมใหมม่ คี วามค ล่องต ัวส ูงในก ารต อบส นองต ่อค วาม
จำเป็นและสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น โดยไม่ถ ูกจ ำกัดด ้วยร ะเบียบก ารท ี่แ ข็งตัวแ บบระบบร าชการ ประการต ่อมาค ือ มีการ
ดำเนินงานในประเด็นปัญหาหรือพื้นที่ที่ไม่ค่อยจะมีหน่วยงานราชการใดดำเนินงานอยู่หรือไม่สามารถครอบคลุมถึง
และประการสุดท้าย มีความร่วมมือและประสานงานกับประชาชนระดับพื้นฐาน หรือที่เรียกว่าประชาชนในระดับ
ร ากหญ้า เช่น เกษตรกร ผู้ใช้แรงงาน ชาวส ลัม เป็นต้น37
ในยุโรปตะวันตกมีการอภิปรายกันมากช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 เพื่อต้องการทำความเข้าใจกับขบวนการ
ใหม่ๆ ที่ป ะทุขึ้นเรื่องสิ่งแวดล้อม สิทธิส ตรี และเอกลักษณ์ข องเพศต ่างๆ (sexual identities) แต่แทนที่น ักท ฤษฎี
จะมุ่งความสนใจไปที่ยุทธศาสตร์ หรือสาเหตุปัจจัยที่นำขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมสู่ความสำเร็จ หรือ
ความล้มเหลว ตามแนวทางของสำนักอเมริกันนิยมที่ผ่านมาในอดีต นักทฤษฎีที่ยุโรปกลับอภิปรายถกเถียงกันเรื่อง
ว่า “เหตุใดข บวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคมใหม่ๆ ซึ่งประกอบไปด้วยผ ู้ร่วมขบวนการม าจากค นหลายช นชั้นจึง
เกิดข ึ้นอ ย่างกว้างข วาง”
นักท ฤษฎีรุ่นแ รกๆ มาจ ากกลุ่มม าร์กซ ิส ม์ หรือผ ู้ท ี่น ิยมแนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์ก ารเมือง พวกเขาม องเห็น
ว่า คำอธิบายตามแนวทางของมาร์กซิสม์ที่เน้นความสำคัญของจิตสำนึก อุดมการณ์การต่อสู้ทางชนชั้นและการผนึก
กำลังข องช นชั้น ดเูหมือนว ่าจ ะข าดพ ลังห รือไมเ่พียงพ อทีจ่ ะอ ธิบายป รากฏการณข์ บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคม
ที่เกิดตั้งแต่ราวๆ คริสต์ท ศวรรษ 1960 เป็นต้นมา พวกเขาเริ่มตั้งป ระเด็นว่าทฤษฎีซ ึ่งเน้นความขัดแ ย้งด้านโครงสร้าง
ชนชัน้ ท างเศรษฐกิจ และว ิกฤตการณว์ า่ เปน็ ป จั จยั ก ำหนดข บวนการร วมก ลุม่ ท างส งั คมไมเ่ หมาะส มท ีจ่ ะน ำม าใชอ้ ธิบาย
ขบวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมซ ึ่งดูเหมือนว ่าม ิได้ม าจ ากช นชั้นใดช นชั้นหนึ่งเท่านั้น และขบวนการเคลื่อนไหว
ภาคป ระชาสังคมด ังก ล่าวยังม ิได้โยงใยก ับวิกฤตการณ์หรือค วามไม่ลงร อยกันด้านโครงสร้างแ ต่อ ย่างใด
35 Frank R, Baumgartner, Social Movements and the Rise of New Issues. (Paper presented at the Conference on
Social Movements, Public Policy, and Democracy University of California, Irvine, January 11–13, 2002)
36 ประเวศ วะส ี “องค์กรพัฒนาเอกชนก ับสังคมไทย” ใน พัฒนาสังคม คมสัน หุตะแ พทย์ บรรณาธิการ (ม.ป.ท., 2527) หน้า 4-5
37 จตุรงค์ บุณยรัตนส ุนทร “พลวัตอ งค์กรพ ัฒนาเอกชนไทย” ใน เอ็นจีโอ 2000 ณรงค์ เพ็ชรป ระเสริฐ บรรณาธิการ กรุงเทพมหานคร
ศูนย์ศ ึกษาเศรษฐศาสตร์ก ารเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2542 หน้า 62
ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช