Page 262 - สังคมโลก
P. 262

10-22 สังคมโลก

       นัก​ทฤษฎีร​ ุ่น​แรกท​ ี่ย​ ุโรปต​ ะวัน​ตกเ​สนอว​ ่า การ​รวมก​ ลุ่ม​เพื่อ​การป​ ระท้วงห​ รือ​การ​เรียกร​ ้องย​ ุค​ใหม่ม​ ิได้​จำกัด​
ตัว​เอง​อยู่​ที่​ขบวนการ​เจรจา​ต่อ​รอง หรือ​การ​วาง​ยุทธศาสตร์​เพื่อ​ให้​ได้​มา​ซึ่ง​อำนาจ​ทางการ​เมือง หรือ “ความ​สำเร็จ”
พวก​เขา​เสนอว​ ่า เนื้อหาค​ วาม​สำคัญข​ อง​ขบวนการ อยู่​ที่ก​ ารต​ ั้ง​ประเด็นข​ ัด​แย้ง​กับแ​ บบแผนข​ อง​สังคม​ที่​เคย​ถือ​ปฏิบัติ​
กัน​มา และ​การช​ ูป​ ระเด็น​เรื่องเ​อกลักษณ์ (identity) ของป​ ัจเจกบุคคล ดังน​ ั้น “การ​ต่อสู้” ที่​เกิดข​ ึ้นจ​ ึง​เป็นการต​ ่อสู้​ใน​
อาณา​บริเวณข​ อง “ประชา​สังคม” มากกว่า​เป็นการต​ ่อสู้​ใน​อาณาบ​ ริเวณข​ อง “การเมือง”

       การ​ถก​เถียง​กัน​ด้าน​ทฤษฎี​ที่​ยุโรป​ยัง​เกิด​ผล​เป็น​สิ่ง​ที่​ขณะ​นี้​เรียก​กัน​ว่า ทฤษฎี​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​
ประชา​สังคมแ​ นวใ​หม่ (New Social Movements Theory: NSMs) อแ​ ลง ทูเ​รน (Alain Touraine) และเยอ​เก็น
ฮา​เบ​อมาส (Jurgen Habermas) เป็น​นัก​ทฤษฎี​ระดับ​นำ​ที่​ยุโรป ความ​คิด​ของ​ทั้ง​สอง​คน​นี้​มี​ความ​แตก​ต่าง​ใน​
ราย​ละเอียด แต่​โดย​ทั่วไป​แล้ว​กล่าว​ได้​ว่า สำนัก NSMs อธิบาย​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​สมัย​ใหม่​ว่า​
โยง​กับค​ วามล​ ้มเ​หลวข​ องร​ ะบอบ​ประชาธิปไตย​ของ​สังคม​หลังส​ มัย​ใหม่ (post-modern) ที่​จะป​ ระกัน​ว่า​ปัจเจกบุคคล​
มี​เสรีภาพ ความ​เสมอ​ภาค และ​ภราดรภาพ​อย่าง​สมบูรณ์ นัก​ทฤษฎี​เหล่า​นี้​มี​ความ​เห็น​ว่า​ระบอบ​ประชาธิปไตย​ของ​
สังคม​หลัง​สมัย​ใหม่ อยู่ใ​นภ​ าวะ​เสื่อม​สลาย​กลาย​เป็นร​ ัฐ​อำนาจน​ ิยม​ที่​ปกครอง​ด้วยเ​ทคโ​น​แครต รัฐบาล​ตก​อยู่​ภาย​ใต้​
อำนาจก​ ารค​ วบคุมข​ องพ​ ลังต​ ลาด ผู้คนก​ ็ถ​ ูกค​ รอบงำโ​ดยร​ ะบบเ​ทคโ​นแ​ ครตข​ องร​ ัฐบาลแ​ ละพ​ ลังข​ องต​ ลาด ไม่มีค​ นง​ าน​
อีกต​ ่อไป เพราะ​คน​งานถ​ ูก​แปร​เปลี่ยน​เป็น “ผู้บ​ ริโภค” เท่านั้น ใน​คราบ​ใหม่ข​ อง​การเ​ป็น​ผู้​บริโภค พวกเ​ขาถ​ ูกค​ รอบงำ​
และ​ชี้นำโ​ดย “ตลาด” (market) อย่างส​ ิ้นเ​ชิง

       สำหรับท​ ู​เรนแ​ ล้ว รัฐ ตลาด และส​ ื่อมวลชน ล้วน​แล้ว​แต่​มี​บทบาทล​ ด​เสรีภาพ​ของ​ปัจเจกบุคคล ยิ่ง​เทคโนโลย​ี
การ​ควบคุมส​ ังคม​ของร​ ัฐข​ องบ​ รรษัทย​ ักษ์​ใหญ่ และ​ของ​สื่อสาร​มวลชนพ​ ัฒนาไ​ป​ไม่​หยุดย​ ั้ง เสรีภาพ​ส่วน​บุคคลย​ ิ่ง​ถูก​
ลดท​ อนล​ ง​ไปใ​น​อัตรา​เร่งเร้า38

       สำหรับ​ฮา​เบ​อมาส โครงสร้าง​ของ​รัฐ​และ​เศรษฐกิจ​ตลาด​ที่​ขยาย​ใหญ่​ขึ้น​และ​มี​อำนาจ​เงิน​มหาศาล​มี​บทบาท​
ครอบงำ​ชีวิต​ทั้ง​ส่วน​ตัว​และ​ส่วน​ที่​เป็น​สาธารณะ (private and public life) ของ​บุคคล​เสมือน​ตก​เป็น​อาณานิคม
ฮา​เบอ​ มาส​เรียก​ชีวิต​ที่เ​ป็น​ส่วน​ตัว​และท​ ี่​เป็น​สาธารณะข​ องบ​ ุคคล​ว่า “รูป​แบบช​ ีวิต” (life world) รูปแ​ บบ​ชีวิต​นี้​รวม​ทั้ง​
อาณา​บริเวณ​ซึ่ง​ระบบ​คุณค่า​ก่อต​ ัวข​ ึ้น ได้แก่ ครอบครัว การศ​ ึกษา ศิลปะ และ​ศาสนา รูป​แบบช​ ีวิต หรือ Life world
ของ​ฮา​เบ​อมาส จึง​มี​ความ​หมาย​มากกว่า​เพียง​ชีวิต​ส่วน​ตัว​หรือ​ชีวิต​สาธารณะ แต่​เป็น​เสมือน​โลก​ของ​ผู้คน​ซึ่ง​มี​ความ​
เข้าใจร​ ่วมก​ ันผ​ ่านส​ ิ่งท​ ี่เ​รียกว​ ่า การกร​ ะท​ ำเ​ชิงส​ ื่อสาร (communicative action) ซึ่งร​ วมถ​ ึงก​ ารท​ ีบ่​ ุคคลใ​นส​ ังคมพ​ ูดคุย​
แลก​เปลี่ยน​อภิปรายถ​ ก​เถียงก​ ันม​ าเ​พื่อส​ ร้างค​ วาม​เข้าใจร​ ่วมก​ ัน​ถึงร​ ะบบค​ ุณค่า การ​ดำเนินช​ ีวิต สิ่ง​ที่​จะ​ทำต​ ่อ​ไป ฯลฯ
แต่ค​ วามค​ รอบงำจ​ ากร​ ะบบร​ ัฐแ​ ละอ​ ำนาจเ​งินข​ องร​ ะบบต​ ลาดท​ ำให้เ​ป็นการย​ ากม​ ากข​ ึ้นท​ ี่บ​ ุคคลจ​ ะส​ ร้างค​ วามเ​ข้าใจร​ ่วม​
กัน​ผ่าน​การก​ระ​ทำ​เชิง​สื่อสาร ท้าย​ที่สุด​ระบบ​รัฐ​และ​ระบบ​ตลาด​จะ​แยก​ออก​จาก​รูป​แบบ​ชีวิต แล้ว​มี​บทบาท​ควบคุม
​รูป​แบบ​ชีวิต​มาก​ขึ้นๆ ภาย​ใต้​การ​กำหนด​กฎ​เกณฑ์​และ/หรือ​ภาย​ใต้​ระบบ​กฎหมายท​ ี่​รัฐ​และ​ตลาด​สร้าง​ขึ้น​มา​ทดแทน​
การกร​ ะท​ ำเ​ชิงส​ ื่อสาร39 ดังน​ ั้น​ ชีวิตป​ ระจำว​ ันข​ องบ​ ุคคลย​ ิ่งว​ ันก​ ็ย​ ิ่งถ​ ูกค​ รอบค​ รองด​ ้วยอ​ ิทธิพลส​ องช​ ั้นข​ องร​ ะบบร​ ัฐแ​ ละ​
อำนาจ​เงินใ​นร​ ะบบ​ตลาด​ขึ้นท​ ุก​ทีๆ40

       ดังน​ ั้น สำหรับฮ​ า​เบอ​ มาส ขบวนการเ​คลื่อนไหว​ภาค​ประชาส​ ังคม​จึงเ​ป็น​ปฏิกิริยา​โต้ก​ ลับ​เพื่อ​นำก​ ารกร​ ะ​ทำ​เชิง​
สื่อสาร กลับ​มาเ​พื่อป​ กป้อง​ตนเอง​ของบ​ ุคคล กล่าวค​ ือ ปกป้อง​ชีวิต​ประจำ​วัน ปกป้อง​รูปแ​ บบ​ชีวิต ของ​บุคคล​จาก​การ​
ถูก​ครอบค​ รองโ​ดย​ระบบร​ ัฐแ​ ละร​ ะบบ​ตลาด

         38 Alain Touraine, Critique of Modernity. Oxford & Cambridge USA: Blackwell, 1977
         39 Derek Layder, Understanding Social Theory. SAGE publication, 1994, pp. 191-194.	
         40 Joe Foweraker, Theorising Social Movements, London: Pluto Press, 1995, p. 6.

                             ลิขสทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   257   258   259   260   261   262   263   264   265   266   267