Page 260 - สังคมโลก
P. 260

10-20 สังคมโลก

เรอื่ ง​ที่ 10.1.3
ความส​ ำคัญข​ องข​ บวนการ​เคลอ่ื นไหว​ภาค​ประชาส​ งั คม

       ขบวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าค​ประชาส​ ังคม มี​ความส​ ำคัญ​ใน​แง่​ที่​สามารถ​ประสานเ​ชื่อม​โยง​ชีวิต​ประจำ​วัน​เข้า​กับ​
การ​เปลี่ยนแปลง​ทางการ​เมือง​ทั้ง​ใน​ระดับ​ประเทศ​และ​ใน​ระดับ​โลก ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​ทำ​หน้าที่​
สำคัญ​ใน​การ​ตั้ง​คำถาม​กับ​รูป​แบบ​ของ​สังคม การเมือง สิ่ง​แวดล้อม​ที่​เป็น​อยู่​ใน​ปัจจุบันว่า​เป็น​สิ่ง​ที่​เป็น​ปัญหา​หรือ
​ไม่ และ​ให้​ความ​สำคัญ​กับ​เรื่อง​มนุษยธรรม​และ​การ​พัฒนา​แบบ​เสมอ​ภาค​และ​เท่า​เทียม​กัน ดัง​นั้น ​ขบวนการ​
เคลื่อนไหว​ภาคประชา​สังคม​จึง​ไม่​ได้​จำกัด​อยู่​เพียง​แค่​เรื่อง​ของ​การเมือง หรือ​อำนาจ​ต่อ​รอง​ผล​ประโยชน์ แต่​สนใจ​
พูด​ถึง​การ​ปกครอง​ที่​มี​พื้นที่​ให้​กับ​เสรีภาพ​ของ​ประชาชน​มาก​ขึ้น ลด​ช่อง​ว่าง​ระหว่าง​รัฐ​กับ​ประชาชน​ลง หรือ​อาจ​เรียก​
ได้​ว่า​กระบวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคม​มี​ความส​ ำคัญ​ใน​การ​เรียกร​ ้องก​ ารป​ กครองท​ ี่​มี​มิติข​ องค​ วาม​เป็น​มนุษย​์
มากข​ ึ้น33

       แนวคิดข​ บวนการเ​คลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคมช​ ่วยพ​ ัฒนาค​ วามเ​ป็นป​ ระชาธิปไตย ด้วยก​ ารข​ ยายบ​ ทบาทข​ อง​
ประชา​สังคม​ให้​เข้ม​แข็ง​และ​กว้าง​ไกล​ออก​ไป โดย​มิได้​มี​ความ​หมาย​เพียง​แคบๆ ถึง​การ​มี​ส่วน​ร่วม​ของ​ประชาชน​ใน​
กิจกรรม​ของ​รัฐ ใน​รูป​ของ​การ​ไป​ใช้​สิทธิ​ออก​เสียง​เลือก​ตั้ง แต่​ประชาธิปไตย​หมาย​ถึง​การ​มี​บทบาท​อย่าง​แข็ง​ขัน​ของ​
ประชาชนใ​นป​ ระชาส​ ังคมม​ ากกว่า จึงเ​ป็นป​ ระชาธิปไตยข​ องพ​ ลเมือง (Civil democracy) และก​ ารเมืองป​ ระชาธิปไตยก​ ​็
คือ​การเมืองข​ องพ​ ลเมือง (Civil politics) ไม่ใช่ก​ ารเมือง​ของร​ ัฐ​หรือ​ของ​พรรคการเมือง (state/party politics) อย่าง​
ที่ผ​ ่านม​ า ซึ่งน​ ัยน​ ี้ป​ ระชาธิปไตยแ​ บบใ​หม่ก​ ็ค​ ือ ประชาธิปไตยข​ องพ​ ลเมือง การเมืองแ​ บบใ​หมก่​ ็ค​ ือก​ ารเมืองข​ องพ​ ลเมือง
และ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​แบบ​ใหม่​ก็​คือ​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ภาค​ประชา​สังคม​ของ​พลเมือง (Civil
social movement)

       ขบวนการเ​คลือ่ นไหวภ​ าคป​ ระชาส​ งั คม จะม​ ผ​ี เู​้ ขา้ ร​ ว่ มท​ หี​่ ลากห​ ลาย โดยร​ วมแ​ ลว้ เ​ปน็ ผ​ ลม​ าจ​ ากก​ ารเ​ปลีย่ นแปลง​
ใน​บริบท​ของ​โลกา​ภิ​วัต​น์ ส่ง​ผล​ให้การ​เมือง​พัฒนา​เข้า​สู่​ระบอบ​ประชาธิปไตย​มาก​ขึ้น เปิด​พื้นที่​ให้​แสดงออก​ถึง​ความ​
คับ​ข้องใจ และ​การ​เรียก​ร้อง​ทางการ​เมือง วาท​กรรม​ระดับ​ชาติ​ใน​ประเด็น​เรื่อง​สิทธิ อัต​ลักษณ์ และ​การ​คุ้มครอง
​สิ่ง​แวดล้อม​กระตุ้น​ให้​เกิด​ความ​ตื่น​ตัว​ใน​สังคม​ด้วย ขณะ​เดียวกัน​การ​เฟื่อง​ฟู​ขึ้น​ของ​ระบบ​รัฐ​สมัย​ใหม่​เศรษฐกิจ​
เสรีนิยม และ​รูปแ​ บบ​ใหม่ๆ ของอ​ ำ​นาจโ​ลกาภ​ ิว​ ัตน​ ์ ส่งผ​ ล​ให้ค​ วาม​ขัดแ​ ย้งเ​รื่อง​ทรัพยากร การ​แตก​กระจาย​ของ​ชุมชน​
ต่างๆ และก​ ารค​ ุกคามว​ ิถีช​ ีวิตข​ องผ​ ู้คนเ​พิ่มข​ ึ้น กล่าวโ​ดยส​ รุปพ​ ัฒนาการส​ ู่ร​ ะบอบป​ ระชาธิปไตย ความเ​จริญเ​ติบโตท​ าง​
เศรษฐกิจ​และ​โลกา​ภิ​วัต​น์​นำ​ไป​สู่​ผลก​ระ​ทบ​ที่​ขัด​กัน​สอง​ประการ คือ​คุกคาม​ชีวิต​และ​การ​ทำ​มา​หากิน​ที่​ผู้คน​พึง​พอใจ
แตข่​ ณะเ​ดียวกันก​ ลับเ​ปิดโ​อกาสท​ างการเ​มืองแ​ ละใ​หค้​ วามช​ อบธ​ รรมก​ ับข​ บวนการเคลื่อนไหวภ​ าคป​ ระชาส​ ังคม กระตุ้น​
ให้ช​ นชั้นก​ ลางส​ นับสนุนข​ บวนการร​ ณรงค์ต​ ่อต​ ้านก​ ารค​ อรัปช​ ัน โดยผ​ ู้เ​ข้าร​ ่วมข​ บวนการจ​ ะม​ าจ​ ากภ​ ูมิห​ ลังท​ ี่ห​ ลากห​ ลาย
เป็น​ขบวนการ​เคลื่อนไหว​ที่​เกี่ยว​โยง​กับ​เรื่อง​สิ่ง​แวดล้อม​และ​การ​แย่ง​ชิง​ทรัพยากรธรรมชาติ เพราะ​กว่า​ครึ่ง​ศตวรรษ​
ที่​ผ่าน​มา​ทรัพยากรธรรมชาติ​ถูก​แย่ง​ชิง​ไป​ใช้​และ​ถูก​ทำลาย​เพื่อ​ประโยชน์​ส่วน​บุคคล​แทบ​ทั้ง​สิ้น ดัง​นั้น ​ขบวนการ​
เคลือ่ นไหวภ​ าคป​ ระชาส​ งั คมด​ งั ก​ ลา่ วจ​ งึ ม​ ค​ี วามพ​ ยายามท​ จี​่ ะห​ ยดุ ย​ ัง้ ก​ ระบวนการท​ ำลายท​ รพั ยากรธรรมชาติ แตส​่ ง่ เ​สรมิ ​
การ​ใช้แ​ ละก​ าร​อนุรักษ์ท​ ี่​ยั่งยืน จึงเ​ป็น​ลักษณะร​ ่วม​ของข​ บวนการต​ ามท​ ้อง​ถิ่น​ต่างๆ ที่อ​ าจม​ ี​ภูมิห​ ลัง​ที่แ​ ตกต​ ่างก​ ันไ​ป34

         33 ไชยร​ ัตน์ เจริญ​สินโ​อฬาร อ้าง​แล้ว	
         34 ผาสุก พงษ์​ไพจิตร อ้างแ​ ล้ว	

                             ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช
   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265