Page 258 - สังคมโลก
P. 258
10-18 สังคมโลก
การดำเนินการกิจกรรมหรือกระทำการทางสังคมในหลากหลายลักษณะและรูปแบบ และขั้นตอนที่สี่ ขั้นการเป็น
สถาบัน (institutional) ผู้นำขบวนการม ักเป็นนักบริหาร (administator) ทำหน้าที่การบริหารจ ัดการองค์การอย่าง
มีประสิทธิภาพแ ละป ระสิทธิผล
พัฒนาการของขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม แบ่งออกตามลำดับขั้นออกเป็นสี่ลำดับขั้น คือ31
ขั้นต อนแ รก การก ่อต ัว (emergence stage) เป็นค วามร ู้สึกไม่พ อใจข องส ภาพก ารณ์บ างอ ย่างในส ังคม เป็นค วามร ู้สึก
ร่วมข องค นจ ำนวนม าก ทำให้ป รารถนาเปลี่ยนแปลงส ังคมบ างป ระการ อันก ่อให้เกิดข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชา-
สังคม ขั้นตอนท ี่สอง การร วมตัวหรือก ารผ สมผสานร วมตัว (coalescence stage) เป็นขั้นตอนในการก ำหนดท ิศทาง
ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี การด ำเนินก าร แรงจ ูงใจ ขวัญแ ละก ำลังใจของข บวนการเคลื่อนไหวภ าคป ระชาส ังคมแ ละส มาชิกท ี่
มีต่อภ ายนอก เพื่อแ สวงหาความชอบธรรมในการดำเนินการ การส นับสนุนก ารด ำเนินการ แนวร่วม พันธมิตร เป็นต้น
ขั้นตอนท ี่ส าม การสร้างองค์การ (bureaucratization) เพื่อให้มีแ กนกลางท ี่เป็นอ งค์การของโครงสร้าง เช่น สายก าร
บังคับบัญชา กฎระเบียบข้อบังคับ เป็นต้น และกระบวนการ เช่น ขั้นตอนการดำเนินการ ขั้นตอนการต่อสู้ เป็นต้น
ในการดำเนินการเท่ากับเป็นการสถาปนาให้ขบวนการกลายเป็นกลุ่มพลังทางการเมือง ขั้นตอนที่สี่ ความเสื่อมถอย
(decline) ภายห ลังการต่อสู้จนบรรลุว ัตถุประสงค์ ขบวนการเคลื่อนไหวภ าคประชาส ังคมท ี่มีลักษณะการเคลื่อนไหว
เป็นพลวัต (dynamic) อาจมีการปรับเปลี่ยน การแปรรูป การคงอยู่ หรืออาจการเสื่อมถอย ตามสภาพแวดล้อมที่
เปลี่ยนแปลงไ ป
ความเสื่อมถอยของขบวนการที่ทำให้สูญเสียอิทธิพลและพลังการต่อสู้ มีสาเหตุห้าประการ ประกอบด้วย
ประการแรก การที่สมาชิกไม่เห็นความจำเป็นที่ต้องต่อสู้ต่อไปเพราะวัตถุประสงค์บรรลุแล้ว แต่ในทางปฏิบัติ การ
บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคห์ นึง่ ท ำใหข้ บวนการจ ะข บั เคลือ่ นเพือ่ ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคอ์ ืน่ ท สี่ งู ก วา่ ห รือข บวนการม วี ตั ถปุ ระสงค์
อื่นค วบคู่กันไปด้วยเสมอ ทำให้การเสื่อมถอยม าจ ากเหตุผลอ ื่นมากกว่า ประการท ี่ส อง ปัญหาภ ายใน อาทิ การขัดกัน
ในผลประโยชน์ ความข ัดแ ย้งในห มู่ผู้นำ การขาดแคลนทรัพยากร ความค ลุมเคล ือในวัตถุประสงค์ เป็นต้น ประการท ี่
สาม การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอำนาจภ ายใน อาทิ การแทรกแซงจากภายนอกที่ให้การสนับสนุน ทำให้วัตถุประสงค์
เบี่ยงเบนไป เป็นต้น ประการที่ส ี่ การกดดันจากภายนอก ที่ส ำคัญ จากเจ้าห น้าที่ข องรัฐด ้วยการข ่มขู่ คุกคาม จับกุม
ลอบสังหาร เป็นต้น ประการท ี่ห้า การเปลี่ยนแปลงข บวนการกลายเป็นอ งค์การขนาดใหญ่ในก ระแสห ลักทำให้มีค วาม
ขัดแ ย้งกับส่วนอื่นในสังคมที่เคยสนับสนุนก ารต่อสู้ เช่น สมาชิก กลุ่ม แนวร่วม พันธมิตร เป็นต้น
วงจรช ีวิตข องขบวนการเคลื่อนไหวภาคประชาสังคม (The Life Course of Social Movement) แบ่งอ อก
เป็นห ้าช่วงช ีวิต คือ32
ชว่ งทห่ี น่ึง การเกิดค วามไมส่ งบและความป น่ั ป่วน (initial unrest and agitation) เป็นเวลาท ี่ป ระชาชน
รู้สึกผ ิดห วังก ับเงื่อนไขบ างอ ย่างข องส ังคม ผู้นำจ ะเป็นส ่วนห นึ่งท ีส่ ะท้อนถ ึงป ัญหาแ ละท ำให้ข บวนการเคลื่อนไหวภ าค
ประชาส ังคมห ากแ สวงหาแ นวร ่วมแ ละก ารส นับสนุนจ ากป ระชาชนบ รรลผุ ล ขบวนการน ั้นจ ะด ำรงอ ยูไ่ด้ แตห่ ากเป็นใน
ทางต รงกันข ้าม ขบวนการจะสิ้นส ุดลงห รือข ยายต ัวไม่ได้
ช่วงที่สอง การเคลื่อนไหวเพ่ือระดมทรัพยากร (resources mobilization) เป็นการระดมทรัพยากรที่
สำคัญประกอบด้วย คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ และวิธีการในการดำเนินการเพื่อสร้างความชอบธรรมในการดำเนินการ
ของขบวนการ และผู้นำจ ะเป็นส ่วนสำคัญในการเคลื่อนไหวในการร ะดมทรัพยากร
31 John J. Macionis.. Sociology. New Jersey: Prentice Hall, 1995, p. 630-632.
32 Henslin op.cit., pp. 604-605.
ลิขสิทธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช